ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครรู้บ้างงับ พี่ๆ 😢

ขั้นเนื้อโลกชั้นล่างสุดส่วนใหญ่เป็นของแข็ง มีอุณหภูมิและความตันสูงกว่าชั้นเนื้อโลกส่วนบน ค. ชั้นเนื้อโลกชั้นบนส่วนใหญ่เป็นของแข็ง มีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าชั้นเนื้อโลกส่วนล่าง ข. แก่นโลกชั้นนอกส่วนใหญ่เป็นของเหลว มีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าแก่นโลกชั้นใน ก. แก่นโลกชั้นในส่วนใหญ่เป็นของเหลว มีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าแก่นโลกชั้นนอก แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาวิทยาศาaตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง (Earth Chenges) ชื่อ-สกุล คะแบบ 1) ข้อใดกล่าวถึงโครงสร้างภายในโลกได้ถูกต้อง ชั้น เลยที่ ง. 2) เปลือกโลกทวีป (Continental Crust) มีแร่ธาตุใดเป็นองค์ประกอบหลัก ก. ในโตรเจน ซิลิคอน ข ซิลิคอน แมกนีเซียม ค. อลูมิเนียม ซิลิคอน 3) เนื้อโลกชั้นบนรวมกับเปลือกโลก เรียกว่า ง. ออกซิเจน ซิลิคอน ก, ธรณีภาค ข. ฐานธรณีภาค ง. แผ่นธรณี ค. แมนเทิล ข. แมกมาเมื่อไหลสู่ผิวโลกเรียกว่า ลาวา ง. แมกมาและลาวาเป็นหินหนืดที่ไหลพุ่งขึ้นสู่ผิวโลก 5) บริเวณหุบเขาทรุดตัวตามแนวสันเขากลางมหาสมุทรมีการเคลื่อนตัวของแผ่นธรณีภาคในลักษณะใดที่สำคัญ 4) ข้อใดถล่าวถูกต้องเกี่ยวกับแมกมาและลาวา ก. ลาวาเมื่อไหลสู่ผิวโลกเรียกว่า แมกมา ค. แมกมาและลาวามีส่วนประกอบแร่ธาตุต่างกัน ก. เคลื่อนตัวแยกออกจากกัน ข. เคลื่อนตัวเข้าหากัน ค. เคลื่อนตัวมุดลงไปใต้อีกแผ่น 6) หลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนว่าทวีปต่าง ๆ ในปัจจุบันแต่เติมเป็นผืนแผ่นเดียวกันคือข้อใด ก. รอยต่อของชั้นเนื้อโลก ง. เคลื่อนตัวเฉือนกัน ข. รอยต่อของชั้นแก่นโลก ง. รอยต่อของชั้นเปลือกโลก ค. รอยต่อของแผ่นธรณีภาค 7) ดินดอนสามเหลี่ยมส่วนใหญ่เกิดบริเวณปากแม่น้ำ เพราะเหตุใด ก. มีพื้นที่สำหรับการตกตะกอนสะสมตัวกว้าง ข. ทางน้ำเปลี่ยนความเร็ว ค, มีแรงปะทะของคลื่นเคลื่อนเข้ามากระทบฝั่ง ทำให้ตะกอนแผ่กระจายและสะสมอยู่ 3. ถูกทุกข้อ 8) การผุพังอยู่กับที่จะเกิดขึ้นเร็วในอุณหภูมิอากาศและภูมิอากาศแบบใด ก. อุณหภูมิสูง ภูมิอากาศดิบชื้น ค. อุณหภูมิสูง ภูมิอากาศแห้งแล้ง 9) ดินในชั้นใดที่มีฮิวมัสอยู่เป็นจำนวนมาก ข. อุณหภูมิต่ำ ภูมิอากาศดิบชขื้น ง. อุณหภูมิต่ำ ภูมิอากาศแห้งแล้ง ง. ชั้น C ค. ชั้น B ข. ชั้น A ก. ชั้น 0 10) ดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูกมากที่สุดควรมีสีใด ข. สีแดง สีน้ำเงินปนเขียว ง. สีดำ ค. ก. สีน้ำตาล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยถอดคำประพันธ์หน่อค่ะ

๑ นางฟังตอบปลอบประโลมพระลูกน้อย สารพัดศัตรูไม่สู้กลัว เจ้าม้วยมอดวอด้วายจะตายด้วย พ่อกลับคืนฟื้นพ้นชีวงคต แม่ได้พลอยพึงบุญพ่อทูนหัว ได้รอดตัวมาถึงเกาะเพราะโอรส เป็นเพื่อนม้วยมรณาให้ปรากฏ ค่อยเปลื้องปลดทุกข์ทนของชนนี ฯ ยิ่งรักราชธิดามารศรี ๑ พระหน่อไทได้สดับอภิวาท ให้อยู่ที่เงื้อมผาศิลาลาย เก็บได้ใส่ห่อผ้ามาถวาย จึงเชิญนางย่างเยื้องขึ้นคิรี แล้วเที่ยวไปในเกาะเสาะลูกไม้ นางเสวยส้มสูกกับลูกชาย 9 จะกล่าวฝ่ายนายโจรใจฉกาจ คุมสลัดอัศตันวิลันดา มีกำปั่นนั้นยาวยี่สิบเส้น หมากมะพร้าวส้มสูกปลูกไว้กิน เลี้ยงทั้งแพะแกะไก่สุกรห่าน ค่อยเหือดหายหิวโหยที่โรยรา ฯ เป็นเชื้อชาติอังกฤษริษยา เป็นโจราห้าหมื่นพื้นทมิฬ กระทำเป็นตึกกว้านสถานถิ่น ไม่รู้สิ้นเอมโอชโภชนา คชสารม้ามิ่งมหิงสา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องทำเป็นแผนผังอย่างไรคะ

ใบงานการทดลองที่ 6 กรณีศึกษาทางสรีรวิทยาคลินิก เรื่อง Circulating shock วัตถุประสงค์ 1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ 2. ระบุหลักการและแนวทางในการช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะ Circulating shock บนพื้นฐานสรีรวิทยา การไหลเวียนเลือด และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและพื้นฐานทางการพยาบาลได้ 3. สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายวิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลในการอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและเขียนผังการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ 4. ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการอธิบายและเขียนผังการเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ กรณีศึกษา ผู้ป่วยชายอายุ 31 ปี ถูกนำส่งโรงพยาบาลโดยอาสาสมัครกู้ภัย เนื่องจากประสบอุบัติเหตุขับมอเตอร์ไซด์ ชนกับรถบรรทุก มีแผลฉีกขาดขนาดใหญ่ที่ต้นขาขวา กระดูกหักทะลุออกมาภายนอก มีเลือดออกมากแบบ Active bleeding เสียเลือดออกไปประมาณ 30% ของปริมาตรเลือดทั้งหมด และมีภาวะ Circulating shock สัญญาณชีพ T 35.5'C P 120/นาที RR 22/นาที BP 80/60 mmHg หายใจตื้น และกระสับกระส่าย ซีด เหงื่อออก ผิวหนังขึ้นแต่เย็น และปัสสาวะออกน้อย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่าที่ตรวจพบ ค่าปกติ รายการ pH 7.25 7.35-7.45 Pco2 45 40 mm Hg Po2 88 90 - 100 mm Hg O, saturation 92 94 - 100 % Hct 35 40-45% แนวทางการศึกษา 1. ให้ผู้เรียนร่วมกันทบทวนบทบาทหน้าที่และกลไกการควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนใน ภาวะปกติ 2. อ่านกรณีศึกษาที่กำหนด จากนั้นนักศึกษาระบุ Hemodynamic parameter ที่ มีการ เปลี่ยนแปลงไปจากภาวะปกติหรือไม่ อย่างไร ตลอดจนค้นหาประเด็นที่เป็นสาเหตุที่ทำให้ Hemodynamic parameter เหล่านั้นเปลี่ยนแปลง 3. ระบุและอธิบายกลไกการควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิตที่เกี่ยวข้อง เพื่อตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลง Hemodynamic parameter เหล่านั้นให้กลับคืนมาสู่ภาวะปกติ/หรือหากไม่ สามารถกลับคืนมาสู่ภาวะปกติได้ ตลอดจนการทำงานของระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) 4. เขียนผังแสดงลำดับของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว (Sequence of physiological events)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0