ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ สอบถามผู้รู้ค่ะ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

wa3โทส. 10. เป็นน้ำตาลที่ถูกน้าลายและน้าย่อยในกระเพาะอาหารจะได้กลูโคส 2 โมเลกุล ใบงานเรื่อง กรดนิวคลีอิก 1. กรดนิวคลีอิก มีหน้าที่อย่างไร และพบที่ส่วนใดของเซลล์ 2. กรดนิวคลีอิก มีกี่ประเภท อะไรบ้าง 3. หน่วยย่อยของกรดนิวคลีอิก คือ 4. นิวคลีโอไทด์ 1 โมเลกุล ประกอบด้วยโครงสร้างใดบ้าง 5. การเรียงต่อกันของนิวคลีโอไทด์แต่ละโมเลกุลเป็นสายยาว เรียกว่า 6. พันธะเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างนิวคลีโอไทด์แต่ละโมเลกุล คือ 7. จงอธิบายโครงสร้างของ DNA ตามความเข้าใจของนักเรียน 8. DNA และ RNA แตกต่างกันอย่างไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ🥺

172 วิทยาศาสตร์กา ตัวอย่างที่ 4 ธาตุอะลูมิเนียม (AI) สร้างพันธะไอออนิกกับธาตุใ 2. เขียนสูตรเคมีของสารประกอบไอออนิก 1. วิเคราะห์ธาตุคู่ที่สร้างพันธะร่วมกัน *เ3A/ (2 8)+3e * N (2 8) AI รวมพอดีกับ N ด้วยอัตราส่วน 1 - 1 ตรวจสอบประจุไฟฟ้า สูตรเคมี คือ AIN เสียงอโละ (3+) (3-) AIN 13พ (2 8 3) 2N (2 5)+3e ตาร 3. เขียนสูตรเคมีในรูปสูตรโครงสร้างลิวอิสแบบจุด สาร ตัวอย่างที่ 5 ธาตุแมกนีเซียม (Mg) สร้างพันธะไอออนิกกับไฮดรอกไซด์ไอออน (OH ) 1. วิเคราะห์ธาตุคู่ที่สร้างพันธะร่วมกัน 2. เขียนสูตรเคมีของสารประกอบไอออนิก 12Mg (2 8 2) - > 12Mg (2 8)+3e Mg * รวมพอดีกับ OH ด้วยอัตราส่วน 1 : 2 และสร้างพันธะกับกลุ่มอะตอมที่มีประจุ -1 คือ OH สูตรเคมี คือ Mg(OH), ตรวจสอบประจุไฟฟ้า (2+) (1-) X2 3. เขียนสูตรเคมีในรูปสูตรโครงสร้างลิวอิสแบบจุด Mg(OH)2 ตัว Mg+2Q1) ดัง กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 6.2 งตอบคำถามต่อไปนี้ 1. กำหนดให้ธาตุสมมติ A และ B มีเลขอะตอม 20 และ 9 ตามลำดับ 1.1 เขียนสัญลักษณ์ไอออนของธาตุ A และ B ได้อย่างไร 1.2 เขียนสูตรเคมีของสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากไอออนของธาตุ A และ B ได้อย่างไร 2. สารประกอบไอออนิกมีสูตรเคมีเป็น XY, ธาตุ X และ Y เป็นธาตุหมู่ใด และไอออน X และ Y ในสารประกอบเขียนสัญลักษณ์ได้อย่างไร 5. กำหนดให้ธาตุสมมติ A และ B เป็นธาตุในหมู่ IIA และ VIA ตามลำดับ 3.1 เขียนสัญลักษณ์ของสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากไอออนของธาตุ A รวมกับไนเตรตไอออน (NO) ได้อย่างไร 3.2 เขียนสัญลักษณ์ของสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากไอออนของธาตุ B รวมกับแอมโมเนียมไอออน (NH,) ได้อย่างไร

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหนูหน่อยนะคะ

1:50 อ. 20 ก.ค. 50% < BB Q A า แบบฝึกหัดเรื่องน้ำ + สารประกอบคาร์บอนในสิ่งมีชีวิต โครงสร้างของน้ำ แบบฝึกหัดเรื่องน้ำ ให้นักเรียนเขียนอักษร 7 หน้าข้อที่ถูก และเขียน F หน้าข้อความที่ผิด พร้อมทั้งแก้ไขข้อความนั้นให้ถูกต้อง .1. น้ำชาวยหล่อลื่นอวัยวะต่างๆ เช่น ดวงตา ข้อต่อ ช่องท้อง เยื่อหุ้มปอด หัวใจ 2. สูตรโมเลกุลของน้ำ คือ H,0, ซึ่งอะตอมของไฮโดรเจนและออกซิเจนยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะไอออนิก .3. ในร่างกายมนุษย์มีน้ำอยู่ประมาณร้อยละ 65 ของน้ำหนักตัว 4. โมเลกุลของน้ำมีสมบัติความเป็นกรดและเบสในตัวเดียวกัน .5. สารชอบน้ำเป็นสารที่มีโมเลกุลแบบไม่มีชั้ว ส่วนสารที่ไม่ชอบน้ำเป็นสารที่มีโมเลกุลแบบมีขั้ว .8. ความจุความร้อนของน้ำ เท่ากับ 4.814 จูล/กรัม/องศาเซลเซียส หมายถึง การที่จะทำให้น้ำ 1 กรัม มีอุณหภูมิ ลดลง 1 องศาเซลเซียส จะต้องใช้พลังงานความร้อนเท่ากับ 4.814 จูล .7. ไอโอดีนพบมากในเนื้อสัตว์ นม ไข่ ผักและผลไม้ทุกชนิด 8. โรคโลหิตจางเกิดจากการขาดธาตุฟอสฟอรัส .9. ธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์บางชนิดและฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง 10. แคลเซียมและฟอสฟอรัสมีบทบาทเกี่ยวข้องกับความแข็งแรงของกระดูกและพัน : บ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1