ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

พี่ๆ เพื่อนๆ คนไหนรู้คำตอบมั้งคะ ภาพเเรก# เรื่องส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาท ภาพที่2 # เรื่อง การทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด ภาพที่3... อ่านต่อ

เรื่อง ส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาท ระบบประสาท ทำหน้าที่ 2. องค์ประกอบของระบบประสาทมีอะไรบ้าง 1 เซลล์ประสาท 3. เซลล์ประสาทมี ขนิด เทำหน้าที่ 3.1 3.2. เทำหน้าที่ 3.3. เทำหน้าที่ 4. สมองส่วนซีรีบรัม ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 5. สมองส่วนซีรีเบลลัม ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 6. สมองส่วนก้านสมอง ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 7. ไขสันหลัง ทำหน้าที่ 8. ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ คือ 9. เมื่อสัมผัสของร้อนแล้วเราดึงมือกลับทันทีเป็นปฏิกิริยารีเฟล็กซ์หรือไม่เพราะเหตุใด ตอบ. 10. ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์มีประโยชน์ค่อมนุษย์อย่างไร ตอบ.. 11. นักเรียนมีวิธีในการดูแลระบบประสาทได้อย่างไร ตอบ. ((((()

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

2. ให้นักเรียนศึกษาตารางสารมลพิษ แหล่งกำเนิด และผลกระทบในหนังสือเรียน พร้อมเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง สารมลพิษ แหล่งกำเนิด ผลกระทบ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ การเผาขยะ - ไฟป่า แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ระคายเคืองตา ผิวหนัง และหาก สูดดมเข้าไปมาก อาจทำให้ระบบ การหายใจผิดปกติ และเป็นสาเหตุ ของการเกิดฝนกรด ระคายเคืองต่อระบบทางเดิน - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ หายใจ และเป็นสาเหตุของการเกิด ฝนกรด - การเผาไหม้สารอินทรีย์ในเตาเผา - ไฟป่า - การทำปฏิกิริยาเคมีของ สารอินทรีย์ระเหยง่าย กับ ออกไซด์ของไนโตรเจนในอากาศ หากสะสมในปริมาณมาก ระบบ ประสาทจะถูกทำลาย ผู้ป่วยจะ อ่อนเพลีย ซึมเศร้า มือเท้าไม่มี เรี่ยวแรง ตาพร่ามัว สูญเสียการได้ ยิน พิการ และรุนแรงถึงขั้น เสียชีวิต ตะกั่ว ทำลายระบบประสาท มีผลต่อ พัฒนาการทางสมองของทารก เป็นสาเหตุของโรคโลหิตจาง และ โรคไต ฝุ่นละออง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ สอบถามผู้รู้ค่ะ

2. ให้นักเรียนศึกษาตารางสารมลพิษ แหล่งกำเนิด และผลกระทบในหนังสือเรียน พร้อมเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง สารมลพิษ แหล่งกำเนิด ผลกระทบ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ การเผาขยะ - ไฟป่า แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ระคายเคืองตา ผิวหนัง และหาก สูดดมเข้าไปมาก อาจทำให้ระบบ การหายใจผิดปกติ และเป็นสาเหตุ ของการเกิดฝนกรด ระคายเคืองต่อระบบทางเดิน - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ หายใจ และเป็นสาเหตุของการเกิด ฝนกรด - การเผาไหม้สารอินทรีย์ในเตาเผา - ไฟป่า - การทำปฏิกิริยาเคมีของ สารอินทรีย์ระเหยง่าย กับ ออกไซด์ของไนโตรเจนในอากาศ หากสะสมในปริมาณมาก ระบบ ประสาทจะถูกทำลาย ผู้ป่วยจะ อ่อนเพลีย ซึมเศร้า มือเท้าไม่มี เรี่ยวแรง ตาพร่ามัว สูญเสียการได้ ยิน พิการ และรุนแรงถึงขั้น เสียชีวิต ตะกั่ว ทำลายระบบประสาท มีผลต่อ พัฒนาการทางสมองของทารก เป็นสาเหตุของโรคโลหิตจาง และ โรคไต ฝุ่นละออง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยคะ🙏

1. พฤติกรรมโอเรียนเตชันส่งผลดีต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร 2. ศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ต่อไปนี้ ระบุประเภทของพฤติกรรมและอธิบายเหตุผลประกอบ ก) ลูกสุนัขแรกเกิดจะหันมองเจ้าของหรือสิ่งของที่เคลื่อนที่ผ่านทุกครั้ง แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไป ระยะหนึ่ง แม้ว่าเจ้าของหรือมีสิ่งของเคลื่อนที่ผ่าน ลูกสุนัขจะไม่หันมองอีก ข) ครูให้นักเรียนทำการทดลอง โดยปล่อยหนูไปในเขาวงกตเพื่อหาทางออก เมื่อนักเรียน ปล่อยหนูไปมากกว่า 5 ครั้ง พบว่า หนูใช้เวลาหาทางออกน้อยลง ค) นายเอมักจะนำเมล็ดถั่วมาวางให้กระรอกข้างบ้าน พร้อมกับดีดนิ้ว 2-3 ครั้ง แล้วกระรอก ก็จะเข้ามากินเมล็ดถั่วดังกล่าว วันหนึ่งนายเอไม่ได้นำอาหารมาวาง แต่ดีดนิ้ว 2-3 ครั้ง ะ กระรอกก็เข้ามาเพื่อกินอาหารเช่นเดิม ง) นายบีทำการทดลองโดยวางกล้วยไว้นอกกรงลิง และในกรงมีไม้ยาวอยู่ 1 ท่อน ในช่วงแรก ลิงพยายามจะหยิบกล้วย แต่ไม่สามารถหยิบได้เนื่องจากอยู่ไกลเกินไป เมื่อเวลาผ่านไป ระยะหนึ่ง ลิงจึงใช้ไม้ที่อยู่ในกรงเขี่ยกล้วยเข้ามาใกล้ ๆ จนสามารถหยิบกล้วยมากินได้ 3. พัฒนาการของระบบประสาทมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของสัตว์อย่างไร 4. จงอธิบายลักษณะการสื่อสารของสัตว์เหล่านี้ ก) การส่งเสียงร้องของกบในช่วงฤดูฝน ข) การยกหางและสันหางของงูหางกระดิง ค) การพองตัวของอึ่งอ่าง ง) การม้วนตัวของกิ้งกือ จ) การปัสสาวะของเสื้อ ฉ) การปล่อยสารเคมีของแมลงตด ช) การหาเหาให้ของลิง ซ) การเลียปากกันของสุนัข 5. เมื่อนำลูกชะนี้แรกเกิดที่แม่ชะนีถูกนายพรานยิงตายมาเลี้ยงภายในห้องปฏิบัติการ หลังจาก ผ่านไป 6 เดือน จึงนำไปเลี้ยงรวมกับชะนีตัวอื่นในกรง ปรากฏว่าลูกชะนีไม่สามารถรวมกลุ่มกับ ลูกชะนี้ตัวอื่นได้ เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

สรุประบบต่อมไร้ท่อ #tonty

Endocrine pancreas - Pancreatic islet 1) Algha cells -- Glucagon การทำงานร่วมกันของระบบต่อมไร้ท่อ 4 ระบบประสาทา Hupothalamus Hormone 2.) Beta Cells - Tทรuliท L Hupothalamus ทeuเrotransmiter : ถ่ายทอดกระแสประสาท * neurohormone : ควบคุมการทำงานของต่อมใต้สมอง : ตัวเชื่อมระหว่างระบบประสาท + ระบบต่อมิไว้ท่อ - GIC000ก : เพิ่มสะดับน้ำตาลในเสือด โทรalin : ลดระดับน้ำตาสในเลือด เ1) Hormones 2.) Homeostasis 2) Bologionl clock * hormoneaากhupithalamus มี 2 ปะเภท 1) สร้าง hormone alดม Anterior pitifory g 2.) สำa hormonealก็บที่ Pesterim ptiaig กmรทำงานในที่มืด หลั่งมาก 3 ทุ่ม - 4ทุ่มเมื่อให้ง่อง Rneal glord (กeatonก : ปรับนาฬิกาชีวิต- ส่วงนอน, สื่นนอน Endocrine Gland 5ทุ่มโกรทอองโมนทำงาน ใด็กแสกเกิดมีเมลาโทนินมากที่ไให้นอนเยอะ -Endocine -EX0orine : ต่อม สานุสร้าง หลั่งเข้ากระแสเลือด : อต่อม - สร้างสาร- หลังสารออกมาตรงตอม Pederior Rutary 9 ระบบต่อมไว้ท่อ Endocrine susiemT สดโมนอื่นๆ เ ดูดน้ำกลับที่ต่อไต-หลอดเลือด - ปัสาวะเข็มขั้น (นำนิอย) Roslerior Piutory 9. สร้าง ADH'ได้น้อย ดูดกลับน้อย ปัสสาวะจาง ฮอร์โมน การทำงานของสอร์โมน + - 40G : humaก chorionic gondotrophin สร้างจากสก - humsin : สร้าง จากเซลลบางส่วนของไทามัส เกี่ยวกับ T-cel ให้ไดามัส เGasin : สร้างจากกระเพาะ Hol -Seoretin : สร้างจากการดูโจติฉัมหลังโซเดี่ยม - ไฮโดงเจนศาสับอเนต เoleogs dkin : สถ้างจากดูโจดินัม กระตู้นการบีบตัวยองถุงน้ำด่งดับอ่อน หวั่งเสนไซม์ -Ethrmpidin : ส้างจากไตกระตุ้น ก ลส้าง RB0 1) รักษาดูลขภาพของร่างกาย 2)การเจริญเติบโต 3) การแสดังพฤติกรรม stimulus of hormone sunthesis & secretion 1. Humoral simulus : สนในเลือดกระตุ้น การสร้างการหลัง 2. Neural simulus : ระบบประสาท ก็ระตุ้น กสสร้าง หลัง 3 Harmonal simulus : hormone เป็นตัวกระตุ้น กาสร้าง หลัง Regulation of hormone secretion 1. คSstiye feedbgck, : กลีเกที่จะส่งให้ ร่างกายเพิ่ม หยุดเมื่อทำงานเสร็จ E การคลอดลูก 2. Nenadive feed bogk : กลไกที่จะสั่งให้ส่างกายหยุด หยุดการทำงานเมื่อยู่ใน set point ทำงานส่วมกับprolactic โดยจะหลัง 2 เวลา คือ กำลังคลอด ใหิหมลูก function : 1) หลั่งน้ำนม 2) ปียมคลูก พคลูกหดตัวเวลาคลอด 9 + Adrenol Hormone Andosterone - Corisd - Adrenaline - (Nora drenaline ทำงานในภาวะกดอ้น & เครียด การออกฤทธิ์ของ hormone - แrier sble : Proiein, Amine,Gily.coprotein - Fal Soladle : steroid hormone, Thurid hormone Sex Hormones - โesos terone : male secondary Se1 characierisic "Ssingen : Femole sgondary sex characterisfic - Progesiene : mรตั้งครรภ์ - เยี่งบุมดลูกหนาตัว Hormonal communication Endocrine signaling Paracrine sianaling ไม่เข้ากระแสเลือด Aidocring Signaling)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ข้อสอบชีวะเป็นข้อเขียนครับ

นิคม 1. ลอราร่า เห็นธนบัตร 1000 บาทวางอยู่บน พื้น จึงรีบเดินเข้าไปเอาผ้าปิดไว้หันมองรอบๆ ตัวเมื่อเห็นว่าไม่มีใคร จึงก้มลงหยิบใส่กระเป๋า แล้วรีบเดินจากไป จงอธิบายการทำงานร่วมกัน ของระบบประสาทกับการเคลื่อนไหว (7) 08:11 น. นิคม 2. ประสิทธิภาพการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่ง เร้าของสิ่งมีชีวิตขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง( 5) 08:11 น. นิคม 3. เวลาไอหรือจามแรงๆมักหูอื้อและน้ำตาไหล เป็นเพราะอะไร (5) 08:11 น. นิคม 4. ถ้าระบบประสาทอัตโนวัติมีเฉพาะระบบประ สาทซิมพาเทติกจะเกิดผลอย่างไร (3) 08:11 น.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สุขศึกษา มัธยมต้น

ใครมีรูปแบบนี้ในภาพบ้างส่งมาหน่อยค่าา มองรูปไม่ชัดเลยเขียนไม่ได้

ปิด : น่า สยุป ประเมิน Unit Question คำชี้แจะได้นักเรียนคอบต่าถามต่งอไป่นี้ จะลินายการเคลื่อนที่ของแกิตแสา์เจนจากธากาศมายนะกร่างการเข้าสู่ปอต และแกิดหาร์นสนโดยอกไรค์ จากป่อดยอกลู่ยากาศภายนยกร่างกาย (แนวaoบ Unit Question 1. แก๊สกตกซิเจนจากภากาศเคลื่อนที่เข้าสู่ร่างกาย ทางจมูก หรือปาก จากนั้นเคลื่อนต่อไปยัง โพรงจมูก ท่อลม แยกไปตามหลอดลมเข้าสู่ ปอดทั้ง 2 ข้าง เพื่อไปแลกเปลี่ยนแก็สที่ถุงคม ภายในปกด ส่วนแก๊สคาร์นถนโดอกกไซต์ที่เกิด 2. พิจารณาภาพที่กำหนดให้ แล้ดคอบคำธาม่อไปนี้ จากการแลกเปลี่ยนแก๊สนริเวณถุงลมในป่อด อยกสู่อากาศนภายนอก โดยผ่านมายังหลอดลม ท่อลม โพรงจมูก และจมูก ตามลำดับ 2. 21 หมายเลข 1 คือ กระดูกซี่โครง ทำงาน ช่วมกับกล้ามเนื้อยีดกระดูกซี่โครงในการ เปลี่ยนแปลงปริมาตรของช่องกระหว่าง การทายใจเข้าและหายใจยan หมายเลข 2 คีย กะบังดม ทำหน้าที่รั้งปอดลง เพื่อให้ กากาศเข้าสู่ปอดรณะทายใจเข้า และตัน ปอดขึ้นเพื่อไล่อากาศแยกจากปอดขณะ หายใจยอา 2.2 จากภาพ เป็นการหายใจตอก เนื่องจาก กระดูกซี่โครงเลี่ยนต่ำลงและทะนังคมลื่อน สูงขึ้น ทำให้ในช่องยกมีปริมาตรลดลงและ มีความดันเพิ่มขึ้น อากาศจึงถูกค้นออกสู่ 2.1 จากภาพ หมายเลข 1 และหมายเลข 2 คืออวัยวะได มีส่วนช่วยในการหายใจอย่างไร 2.2 จากภาพ เป็นการหายใจเข้าหรือออก เพราะเหตุใด ภายนอกร่างกาย การแลกแปลี่ยนแกิสมีกระบวนการอม่างไร 3. การแลกเปลี่ยนแก๊สเป็นเระบวนการแลกเปลี่ยน แก๊สออกซิเจนกับแก็ตตาชันอนไดออกไซด์ ซึ่งเกิดขึ้น 2 บริเวณ ได้แก่ 1) บริเวณปลด มีการแลกเปที่ยนแก้ตระหว่าง ถุงผมกันหลยดเดือดฝย โดยแก๊สยแกซิเจน แพร่จากถุงดมเข้าสู่หลอดเดือดผอย ส่วน เพราะเหตุดผู้ปายโรหยงผมไปอดยงจตายในเร็วกว่าคนปกติ หน่ายโดทำหน้าที่คำจัดของเสียงเทจากร่างกายได้อย่างไป เพราะเหตุใจึงไม่พบโปรดันและกลูโคตปนออกมากับน้ำปัดสาวะ เพราะเหตุใดแพทย์จึงและนำให้ที่มน้ำสะลาคผ่างมัมแลวันละ 2 โคร แก็สคาร์นแนไตยกใซต์แพร่จากหละดเดิกต ฝอยเข้าสู่ถุงหม 2) บริเวณเซตล์ต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างหลอดเลือดฝ่อยกับเซลล์ โดยแก็ส ถยกซิเจนแพร่จากหลอดเลือดฝอยเข้าสู่เซล์ ส่วนแก๊สตาร์บอนโดออกไซต์แพร่จากเซลล์ เข้าสู่หลอดเลือดฝอย 4. เนื่องจากผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งทองมีผบังถุงลมฉีกขาด พื้นที่ผิวแลกเปลี่ยนแก้สจึงนัยยลง ทำให้แก๊ตกกซีเจนที่ได้รับไม่เทียงพอกับความตัดงการของร่างกาย จึงต้องหายใจเส็วและีกว่าคนปกติ เพื่อให้ได้รับแก้สอยกซิเจนที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย 6. หน่วยโดทำหน้าที่กรองลารต่างๆ อยกจากเลีอด ซึ่งมีเฉพาะตารขนาดเลิก เช่น น้ำ กลูโคส กรดอะมิโน และของเสียค่างๆ เช่น ยูเชีย ที่ถูกรองเข้าส่ หน่วยใต และสารที่มีประโยชน์ถูกดูดกตับเข้าสู่หลยดเลือดฝอย ทำให้เหลียเฉพาะของเสียท่ผ่านหน่วยไดไปยังท่อไต และใไปรวมยังกระเพาะปัสลาวะเป็น น้ำปัดตาระ เพื่อกำจัดออแจากร้างกายทางท่อมัสสาวะต่อไป 4. เนื่องจากสารที่ถูกกรองผ่านเหน่วยโดเป็นสารที่มีขนาดเล็ก ซึ่งโปรตีนเป็นสารขนาดใหญ่จึงไม่ผ่านการกรองเข้าสู่หน่วยได ส่วนกลูโคสเป็นดารที่มีขนาดเล็ก และเป็นสารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายจึงถูกลูดกลับเข้าสู่หลอดเลียดฝอย ดังนั้น จึงไม่คนไปรตีนและกลูโคลปนแออกมากับน้ำปัดลาวะ 7. การดื่มน้ำสะอาดอย่าเพียงพอเป็นการช่วยให้ไดไม่ทำงานหนักจนเกินไปเพราะไดไม่ต้องกรองน้ำเลือดที่มีความเข้มข้นมากจนเกินไป ทำให้โดทำงานไต้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งแพทย์แนะนาให้ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยรันละ 8-10 แก้ว หรือบระมาณวันละ 2 ลิตร < 80 / 154 %

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0