ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหนูหน่อยนะคะหนูทำไม่ได้ค่ะ

1 จาก 6 1. ให้นักศึกษานำข้อมูลที่ได้สร้างตารางแจกแจงความถี่ 2. ให้นักศึกษานำข้อมูลที่ได้คำนวณค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม พิสัย ความแปรปรวน ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสัมประสิทธิ์การแปรผัน ในกรณีข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ 3. ให้นักศึกษานำตารางแจกแจงความถี่ที่ได้ในข้อ 1 คำนวณค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม ความแปรปรวน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในกรณีข้อมูลแจกแจงความถี่ 4. ให้นักศึกษานำข้อมูลที่ได้ หาค่า Q2 D5 และ Pas 29 19 31 กิจกรรมที่ 1 หน่วยที่ 3 สถิติเบื้องต้น (15 คะแนน) ส่งวันที่ 4 มีนาคม 2567 48 43 49 49 44 27 39 10 15 11 20 33 43 32 47 12 15 43 11 10 40 ข้อมูลชุดที่ 6 23 12 43 ข้อมูลชุดที่ 1 38 43 23 46 14 12 46 19 20 34 49 22 ข้อมูลชุดที่ 2 47 28 31 18 15 14 50 19 44 23 27 29 32 14 16 15 27 14 26 38 39

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยคิดวิชาสถิติหน่อยคะ เรื่องการวิเคราะห์การถดถอยค่ะ

00:29 อา. 8 ต.ค. - แบบฝึกหัดการ run regression 7 10 15 20 ข้อที่ 1. จากผลการสำรวจปริมาณความต้องการซื้อไก่ทอดของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาการเงินเป็นดังนี้ ราคาไก่ทอด(บาท) จำนวนคนที่ต้อ ต้องการซอ 18 SUMMARY OUTPUT 12 7 3 Regression Statistics : เปิดใน CollaNote แบบฝึกหัด การวิเคราะห์การถดถอย Multiple R 0.091870558 R Square 0.008440199 Adjusted R -0.062385501 Standard E 25.96303475 ยอดซื้อต่อคน(ชิ้น) 3,3,3,2,1,2,3,4, 3,2,1,2,3,4, 1,2,3,4 จงอธิบายพฤติกรรม การกินไก่ทอด โดยสร้างสมการพยากรณ์การกินไก่ทอด พร้อมอธิบาย 1.ถ้าหากไก่ทอดราคา 10 ปริมาณความต้องกินไก่ทอดเฉลี่ยเป็นเท่าไร 2. ถ้าหากไก่ทอดราคาเพิ่มขึ้น 1 บาทความต้องกินเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร 3,2,1,3,2,1,2,2,2,2,2,1 ข้อที่ 2 จาก print out แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าชั้นเรียนกับคะแนนสอบกลางภาค 2,2,3,1,1,1,1 1,2,1 เสร็จสิ้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่า งงมาก🥹

1. จากการวิจัยทางการแพทย์พบว่า จากโรงเรียนในชนบทแห่งหนึ่งมา สารอาหาร 20% ของเด็กนักเรียนในชนบทเป็นโรคขาดสารอาหาร สุ่มนักเรียน 12 คน จงหาความน่าจะเป็นที่จะพบว่า นักเรียนเป็นโรคขาด ก. จงหาฟังก์ชันการแจกแจงความน่าจะเป็นของนักเรียนที่ขาดสารอาหาร ข. ความน่าจะเป็นที่ นักเรียนเป็นโรคขาดสารอาหารไม่เกิน 1 คน ค. ความน่าจะเป็นที่นักเรียนเป็นโรคขาดสารอาหารอย่างน้อย 1 คน ง. ความน่าจะเป็นที่ นักเรียนเป็นโรคขาดสารอาหารตั้งแต่ 2 ถึง 4 คน จ. ค่าคาดหวัง และความแปรปรวนของจำนวนนักเรียนขาดสารอาหาร ฉ. จงหา E(3X+2) และ Var(4X-5) เมื่อจากค่าคาดหวังและความแปรปรวนของจำนวนนักเรียนที่ขาด สารอาหาร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

รบกวนช่วยหน่อยค่ะ แนะเป็นแนวทางก็ได้🥺

1. อุบัติเหตุเกิดขึ้นบนเนินที่มีควาวมชัน 8 = 12° เมื่อรถคัน A ไถลลงมาชนรถ B ซึ่งจอดนิ่งอยู่ห่างออกไปเป็น = ระยะ d = 24 m โดยที่รถ A มีความเร็วต้น 18 m/s ถ้าพื้นถนนมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตเป็น 0.8 และ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์เป็น 0.6 จงหาความเร็วขณะที่รถ A ไปชนรถ B 2. กล่องมวล 3 kg ไถลลงมาตามพื้นเอียงที่มีความยาว 1 m และทำมุม 300 กับพื้นราบ โดยกล่องเริ่มเคลื่อนที่ จากหยุดนิ่ง และ ให้ค่าความเสียดทานคงที่ระหว่างกล่องกับทุกพื้นสัมผัสเป็น 5 N จงหา a) อัตราเร็วของกล่องที่ปลายพื้นเอียง b) ระยะทางที่กล่องเคลื่อนที่ต่อไปบนพื้นราบ h = 5m mu B h d = 1m Vo = 0 m/s 3. ทรงกลมตันมวล M ไถลมาบนพื้นที่ไม่มีความผิด โดยมีอัตราเร็วคงที่ 44 ก่อนตกมาจากโต๊ะที่สูง 5 จากพื้น ถูก กระสุนมวล m ที่มีอัตราเร็ว 42 ยิงเข้าใส่และฝังอยู่ในมวล M จงหาระยะที่ทรงกลมตันเคลื่อนที่ลงมาถึงพื้น (d) Mul 0 = 30° d Mtm

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

สถิติ

4) (Tensile strength) ของ ผู้ผลิตกระดาษต้องการทราบว่าความเข้มข้นของไม้เนื้อแข็งมีผลต่อแรงดึง กระดาษหรือไม่ จึงสนใจศึกษาความเข้มข้นของไม้เนื้อแข็งในช่วงระดับ 5% ถึง 20% ผู้ผลิตจึงเลือก 5% 10% 15% และ 20% แล้วทำการทดลองกับตัวอย่างทั้งหมด 24 ตัวอย่าง และวัดแรงดึงของกระดาษ (หน่วยเป็น psi) ได้ดังตาราง จงทดสอบว่าความเข้มข้นของไม้ (Tensile strength) ของกระดาษหรือไม่ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 เนื้อแข็งมีผลต่อค่าเฉลี่ยของแรงดึง ระดับความเข้มข้นของไม้เนื้อแข็งที่ 1 7 8 15 11 9 10 ความเข้มข้นของไม้เนื้อแข็ง (%) 2 12 17 13 18 19 15 3 14 18 19 17 16 18 4 19 25 22 23 18 20

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/4