ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ข้อ8ครับ

ตอนที่ 1 ตอบคำถามต่อไปนี้พอเข้าใจ 1. จงให้ความหมายของสถานที่ตั้งโรงงาน 2. จงอธิบายถึงความสำคัญของสถานที่ตั้งโรงงานที่มีต่อธุรกิจ 3. ในการเลือกสถานที่ตั้งโรงงานผู้บริหารสมควรพิจารณาปัจจัยอะไรบ้าง 4. ปัจจัยด้านชุมชนท้องถิ่นมีผลอย่างไรต่อการเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน 5. การตัดสินใจเลือกสถานที่ตั้งโรงงานในต่างประเทศ สิ่งที่จะต้องพิจารณามีอะไรบ้าง 6. ประเทศไทยควรพัฒนาด้านใดบ้าง ถึงจะจูงใจให้นักลงทุนเลือกเป็นสถานที่ตั้งโรงงาน 7. เหตุใดจึงต้องวิเคราะห์จุดคุ้มทุนในการเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน ตอนที่ 2 จงแสดงวิธีทำ 8. ผู้บริหารโรงงานแห่งหนึ่งต้องการเลือกสถานที่ตั้งโรงงานแห่งใหม่โดยมีสถานที่ในการ ตัดสินใจอยู่ 4 แห่ง คือ A, B, C และ D ซึ่งในแต่ละแห่งจะมีต้นทุนคงที่ เช่น ค่าที่ดิน ค่าสร้างอาคาร ค่า เครื่องจักร และต้นทุนผันแปร เช่น ค่าแรงงาน ค่าวัสดุ ค่าการขนส่ง เป็นต้นดังแสดงในตารางต่อไปนี้ จงหา ทำเลที่ตั้ง ต้นทุนคงที่ต่อปี (บาท) ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย (บาท) A B C D 150,000 300,000 500,000 600,000 62 38 24 30 ถ้าท่านได้รับมอบหมายจากผู้บริหารให้ศึกษาความเหมาะสมในการเลือกสถานที่ตั้งแห่งใหม่ 1. กำหนดเส้นกราฟต้นทุนรวมของแต่ละสถานที่ตั้ง 2. คำนวณหาปริมาณการผลิตที่คุ้มทุนของแต่ละสถานที่ตั้ง 3. ถ้าปริมาณความต้องการเป็น 15,000 หน่วยต่อปี เราสมควรตัดสินใจเลือกสถานที่ตั้งใดมาก ที่สุด 9. บริษัทอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งต้องการเลือกสถานที่ตั้งเพื่อทำการขยายกำลังการผลิต และ ได้ทำการสำรวจตำแหน่งวัตถุดิบและตลาดสินค้า พบว่า มีตำแหน่งวัตถุดิบที่สำคัญ 2 แห่ง และตลาด สินค้า 2 แห่ง อัตราการขนส่งวัตถุดิบ กิโลเมตรละ 6 บาทคงที่ และอัตราการขนส่งสินค้าไปยังตลาด กิโลเมตรละ 5 บาทคงที่ ไม่ว่าระยะทางจะเป็นเท่าใด รายละเอียดของแหล่งวัตถุดิบและตลาดจำหน่าย อยู่ในตำแหน่งตามภาพ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ธุรกิจ มหาวิทยาลัย

ช่วยหาคำตอบให้ด้วยนะค่ะ

1. 2. 3. 4. 232 ตอนที่ 3 - จงเขียนเครื่องหมายถูก (4) หน้าข้อความที่ถูก และเขียนเครื่องหมายผิด (X) หน้าข้อความที่ผิด (ข้อละ 1 คะแนน) 6. 7. 8. 9. ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณ์การกระทำใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ ไม่แน่นอน 5. ขีดความสามารถขององค์การ ในแง่ของทรัพยากรและความรู้ เช่น เงินทุน เวลา บุคลากร กระบวนการ ระบบและเทคโนโลยีเป็นสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ หลักในการตอบสนองความเสี่ยง ได้แก่ การยอมรับ การลด การละ การเลิก การควบคุมเพื่อการป้องกันเป็นวิธีการควบคุมที่กำหนดขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง หมายถึง กระบวนการที่ปฏิบัติโดยบุคลากรทุกคนในองค์การ เพื่อช่วยในการกำหนดกลยุทธ์และการดำเนินงานขององค์การ การจัดการความเสี่ยงช่วยสะท้อนให้เห็นภาพเฉพาะของความเสี่ยงต่าง ๆ ในองค์การ ปัจจัยความเสี่ยงภายนอก ได้แก่ ภาวการณ์การแข่งขัน การเปลี่ยนแปลงนโยบาย และ กระแสสังคม และข้อผิดพลาดตั้งแต่แรก การติดตามและประเมินผลการจัดการความเสี่ยง ควรดำเนินการอย่างต่อเนื่อง การกำหนดวัตถุประสงค์ควรมีกรอบระยะเวลาที่แน่นอน 10. การประเมินโอกาสและผลกระทบของเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นจัดเป็นการระบุความเสี่ยง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ธุรกิจ มหาวิทยาลัย

สวัสดีค่ะใครพอจะช่วยอธิบายวิชาโลจิสติกหน่อยได้ไหมค่า พอดีทำการบ้านอยู่ไม่เข้าใจข้อนี้ข้อเดียว ช่วยหน่อยได้ไหมค่ะ

ซัพพลายเชน 45 แบบฝึกหัด จากภาพที่ 1 คลัสเตอร์การแปรรูปสับปะรด ให้นักศึกษาเลือกองค์ประกอบของคลัสเตอร์การแปรรูป สับปะรดให้สอดคล้องกับคำต่อไปนี้และมีปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อความสำเร็จการจัดการคลัสเตอร์การ 1. แปรรูปสับปะรด จำหน่ายเคมีภัณฑ์ อุปกรณ์ โรงงานแปรรูป โรงงานแปรรูปสับปะรด ผู้จำหน่าย สับปะรด หน่ายหน่อพันธุ์สับปะรด * เกษตรกรผู้ปลูกสับปะรด พ่อค้าขายปลีก ผู้บริโภค เกรณ์ชาวไร่สับปะรด. เกษตรผู้รับซื้อเปลือก สับปะรด ภาพที่ 1 คลัสเตอร์การแปรรูปสับปะรด Suppliers Focal Firm Cuะtomers

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0