ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มหาวิทยาลัย

สามารถนำพลังงานที่ได้มาจากไหนหรอคะ🥹

3. จงอภิปรายว่าผลิตภัณฑ์ แอล-คาร์นิทีน 500 mg 1 กล่อง น้ำหนัก 3.5 กรัม ให้พลังงาน 10 กิโลแคลอรี่ได้อย่างไร ในเมื่อฉลากสินค้าระบุว่า ไม่มีน้ำตาล ไม่มีโปรตีน ไม่มีไขมัน OPEN แอล-คาร์นิทีน ฟูมาเรท 500 มก. คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 ช่อง พลังงาน uhana ไขมัน ชเทียม 0 0 10 กรัม nšu มิลลิกรัม 0% 0% +1% "คิดเป็นร้อยละของปริมาณสูงสุดที่บริโภคได้ต่อวัน 10 nienacs *1% ข้อมูลโภชนาการ หนึ่งหน่วยบริโภค: 3.5 กรัม จำนวนหน่วยบริโภคต่อฟา: 1 พลังงานทั้งหมด 10 กิโลแคลอรี (พลังงานจากไขมัน 0 กิโลแคลอรี่) *ร้อยละของปริมาณสารอาหารที่แนะนำให้บริโภคต่อวัน สำหรับคนไทยอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป (Thai RDI) โดยคิดจาก ความต้องการพลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี่ คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน ไขมันทั้งหมด 0 ก. ไขมันอิ่มตัว 0 ก. โคเลสเตอรอล 0 มก. โปรตีน 0 ก. คาร์โบไฮเดรตทั้งหมด 3 ก. ใยอาหาร 0 ก. น้ำตาล 0 ก. โซเดียม 10 มก. ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน* 0% 0% 0% • วิตามินเอ • วิตามินบี 2 • เหล็ก • วิตามินบี 1 • แคลเซียม • วิตามินซี เครื่องดื่มผงกลิ่นแอปเปิ้ลผสมแอลคาร์นิทีน (ตรา เฟรชโดส เพรสแอนด์เชค) ส่วนประกอบที่สำคัญใน 1 หน่วย ประกอบด้วย: แอล-คานีทีน 500 มก. สารสกัดจากแอปเปิ้ล 200 มก. สารสกัดจากชาเขียว 20 มก., อินูลิน 1,344 บก., วัตถุให้ความหวาน แทนน้ำตาล (ซูคราโลส), สารเพิ่มปริมาณ (INS414, เด็กซ์โตรสโมโนไฮเดรต), สารควบคุมความเป็นกรด (INS330, INS331 (ii)), สีสังเคราะห์ (INS143), แต่งกลิ่นธรรมชาติ 0% 0% 0% 1% 0% 1% 0% 0% 0%

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะ

ผลการวิเคราะห์สารตัวอย่างหมายเลข 3F สารละลายใส ไม่มีสี เมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินเปลี่ยนเป็นสีแดง เมื่อหยด 6 M HCI สารละลายขุ่น เป็นสีขาวทั้งหลอด นำไปหมุนเหวี่ยง เทสารละลายส่วนใสทิ้งไป เติมน้ำกลั่นลงในตะกอน ต้มประมาณ 2 นาที แล้วคนเบาๆ พบว่าตะกอนละลายได้แต่ไม่ทั้งหมด หมุนเหวี่ยงอีกครั้งเพื่อนำสารละลายส่วนใสที่ยังร้อนอยู่มาเติม 6 M HOAC และ K,CrO, ได้สารละลายขุ่นสีเหลือง ส่วนตะกอนที่ไม่ละลายน้ำร้อนนำมาเติม 6 M NH,OH 25 หยด ตะกอนหายไปหมดได้สารละลายใส ไม่มีสี นำสารละลายมาเติม 6 M HNO, ประมาณ 40 หยด ทดสอบ ด้วยกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินเปลี่ยนเป็นสีแดงสารละลายที่เคยใสกลับขุ่นและมีสีขาว

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

อันนี้ทำยังไงหรอคะ เราลืมหมดแล้ว

12:15 จ l (57ี แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 1. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้แล้วระบุว่าข้อความใดเป็นการใช้สถิติเชิงพรรณนา หรือข้อความใดเป็นการใช้สถิติเชิงพรรณา หรือข้อความใดเป็นการใช้สถิติแบบอนุมาน พร้อมยกเหตุผลประกอบคำสรุปของนักศึกษา จากการสำรวจพฤติกรรมในการใช้อินเตอร์เน็ตของพนักงานบริษัทโฆษณาแห่งหนึ่งเพื่อหาข้อ มูลจำนวน 350 คน พบว่าพนักงาน 60 % ของกลุ่มตัวอย่างจะค้นหาข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลแรก - จากการศึกษาการรับประทานยาประเภทสเตียรอยด์ของผู้ป่วยโรคภูมิแพ้จำนวน 5090 คน สามารถสรุปได้ว่า การสึกของกระดูกผู้ป่วยโรคภูมิแพ้มีสาเหตุมาจากการรับประทานยาสเตียรอยด์เป็นระยะเวล านานต่อเนื่องไม่ต่ำกว่า 5 ปี เมื่อศึกษาผลกระทบที่เกิดจากการให้อาหารของการเลี้ยงโคนม ณ ฟาร์มโคนมแห่งหนึ่ง พบว่าเทคนิคการเลี้ยงโคนมเพื่อให้ได้ปริมาณน้ำนมมากตามที่ต้องการของฟาร์มแห่งนี้คือ การดูแล ให้อาหารและน้ำอย่างสม่ำเสมอทุก 3 ชั่วโมง 2. จงกำหนดกลุ่มประชากร กลุ่มตัวอย่าง และวิธีการเก็บตัวอย่างของปัญหาต่อไปนี้ " การศึกษาพฤติกรรมของปลาทะเลในบริเวณปากอ่าวไทย การศึกษาการขยายพันธุ์ของเชื้อราในที่ชื้นเปรียบเทียบกับเชื้อราในที่โล่งแจ้ง การศึกษาผลกระทบการดื้อยาของการใช้ยาปฏิชีวนะเพนนิซิลลินในการรักษาโรคเต้านมอักเ สบอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน 5 ปี 3. จงเลือกตัวอักษร (ก ข หรือ ค) เติมลงในช่องว่างหน้าคำถามแต่ละข้อ 1. ตัวแปรเชิงคุณภาพ ข. ตัวแปรเชิงปริมาณชนิดต่อเนื่อง ค. ตัวแปรเชิงปริมาณไม่ต่อเนื่อง 1. เพศ .2 จำนวนสมาชิกในครอบครัว 3. ความสูง .4 ประเภทอาหารที่ชอบ (ต้ม ยำ ผัด แกง) 5. เกรดเฉลี่ย .6 ภูมิลำเนา (ภาคเหนือ กลาง อีสาน) 7. จำนวนนักศึกษา .8 ปริมาณน้ำอัดลมใน 1 แก้ว 9. คะแนนสอบวิชาสถิติ .10 social media ที่ชอบใช้ 11.สาขาวิชาในคณะ .12 จำนวนเพื่อนที่สนิทในสาขาวิชา -

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มหาวิทยาลัย

ช่วยบอกแพลนแล็ปอันนี้หน่อยค่า🙏🏻🙏🏻🙏🏻

อุปกรณ์ 1. ขวดวัดปริมาตร ขนาด 100 มิลลิลิตร จำนวน 1 ขวด 2. ขวดวัดปริมาตร ขนาด 50 มิลลิลิตร จำนวน 2 ขวด 3. ปีเปต ขนาด 0.5 และ 1 มิลลิลิตร 4. บีกเกอร์ ขนาด 50 มิลลิลิตร 5. บีกเกอร์ ขนาด 100 มิลลิลิตร 6. แท่งแก้ว 7. กรวยกรอง 8. ขวดน้ำกลั่น 9. หลอดหยด สารเคมี 1. โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) 2. สารละลายกรดซัลฟิวริกเข้มข้น 0.25 โมลาร์ (0.25 M H,SO) 3. สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 โมลาร์ (0.5 M HCI) วิธีทดลอง ตอนที่ 1 เตรียมสารละลาย KOH เข้มข้น 0.1 โมลาร์ปริมาตร 100 มิลลิลิตร 1. คำนวณหามวลของ KOH ที่ต้องใช้ แล้วชั่ง KOH ให้ได้น้ำหนักใกล้เคียงกับที่คำนวณได้ ลงในบีก เกอร์ขนาด 100 มิลลิลิตร ที่แห้งและสะอาด (โดยชั่งน้ำหนักบีกเกอร์เปล่าก่อน แล้วกด Tare เพื่อลบน้ำหนัก บีกเกอร์ จึงตักสารใส่ในบีกเกอร์) 2. เติมน้ำกลั่นลงไปประมาณ 50 มิลลิลิตร ใช้แท่งแก้วคนจน KOH ละลายหมด แล้วเทสารละลาย ผ่านกรวยกรองลงในขวดวัดปริมาตรที่แห้งขนาด 100 มิลลิลิตร ล้างบีกเกอร์ด้วยน้ำกลั่นอีก 2 ครั้งๆละ ประมาณ 20 มิลลิลิตร เทลงในขวดวัดปริมาตรใบเดิม เขย่าให้เข้ากัน 3. จากนั้นเติมน้ำกลั่นลงในขวดวัดปริมาตรจนสารละลายมีระดับใกล้ถึงขีดบอกปริมาตร แล้วใช้หลอด หยดในการปรับปริมาตรจนครบ 100 มิลลิลิตร ปิดจุกแล้วเขย่าให้สารละลายผสมเป็นเนื้อเดียวกัน เท สารละลายที่เตรียมได้ลงในขวดเก็บสารที่เตรียมไว้ ปิดฉลากระบุข้อมูลของสารละลายที่เตรียมได้ตามที่ กำหนดไว้ข้างต้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/2