ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยทีครับ ขอบคุณครับ

แบบทดสอบ เรื่อง คาน คสล. คำสั่ง จงออกแบบคาน B1 มีความยาว 5.00 m โดยกำหนดรายละเอียดดังนี้ 1. น้ำหนักพื้น ผนังและน้ำหนักบรรทุกจรถ่ายลงคาน วิธีทํา f'c (ksc) 170 R1 fc (ksc) 64 1. กําหนดหน้าตัดคาน น้ำหนักคาน M max. Mc รวมน้ำหนักที่กระทำต่อคาน (w) 2. คำนวณหาโมเมนต์ As Mc = ดังนั้น เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ท้องคาน 3. คำนวณแรงเฉือน n 10 fs (ksc) 1,200 1,500 1,700 w kg/m 5.00 m = 952 kg/m (ไม่รวมน้ำหนักคาน) k 2 0.35 0.30 0.27 m j 0.88 0.90 0.91 kg/m - (w*d) kg*m Mmax, เสริมเหล็กรับแรง ksc 4.1 แรงเฉือนสูงสุดจะเกิดที่ระยะ d ห่างจากขอบฐานที่รองรับ WL แรงเฉือนที่เกิดขึ้น V cm 2 R2 kg/m R (ksc) 9.86 8.64 7.86 g ....

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยครับ🥲 ข้อ24-25-26-27 วิชาเทอโมไดนามิก

LOil นมาโนบิ SG=03 Mercury SG=136 ดออก เปลี่ยน a ua มวล แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับเทอร์โมไดนามิกส์ 27 1-24 ในขณะทำการบิน นักบินคนหนึ่งอ่านข้อมูลได้ว่าเครื่องบินอยู่เหนือระดับน้ำทะเล 3 km และความดันสัมบูรณ์ เป็น 58 kPa จากข้อมูลที่กำหนดจงคำนวณหาความดันบรรยากาศที่ภาคพื้นดินในหน่วย kPa และ mm Hg เมื่อกำหนดให้ความหนาแน่นของอากาศและปรอทเป็น 1.15 kg/m และ 13,000 kg/m ตามลำดับ (ตอบ 01.8 kPa และ 688 mm Hg) HELIUM D = 10 m PHe = Pair 1 - 4 รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-24 1-25 บอลลูนบรรจุแก๊สฮีเลียมซึ่งมีความหนาแน่น 1/7 เท่าของความหนาแน่นของอากาศ โดยแรงลอยตัวของ บอลลูน (พิจารณาจาก F - Pair balloon) จะผลักดันให้บอลลูนลอยขึ้นในแนวดิ่ง ถ้าบอลลูนมีเส้น ผ่านศูนย์กลาง 10 m และบรรจุคน 2 คน ที่มีมวลคนละ 70 kg จงคำนวณหาความเร่งของบอลลูน เมื่อเริ่มปล่อยบอลลูน (กำหนดให้ Pair = 1.16 kg/m และไม่คิดน้ำหนักของตะกร้าและเชือก) (ตอบ 16.5 m/s²) m = 140 kg Altitude: 3 km P = 58 kPa รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-25 OIL SG=0.85 WATER = 1000 kg/m³ รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-26 1-26 ภาชนะทรงกระบอกสูง 10 m บรรจุน้ำที่มีความหนาแน่น 1000 kg/m และน้ำมันที่มีความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.85 โดยชั้นของน้ำและชั้น ของนํ้ามันมีความสูงเท่ากัน จงพิจารณาหาความดันแตกต่างระหว่าง ด้านบนและด้านล่างของภาชนะ (ตอบ 90.7 kPa) 1-27 ภาชนะทำอาหารด้วยความดัน (pressure cooker) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วย ประหยัดเวลาในการทําอาหารได้ เนื่องจากสามารถควบคุมความดัน h = 10 m และอุณหภูมิภายในภาชนะให้สูงกว่าภาชนะทำอาหารทั่วไปโดยมีการ ป้องกันการรั่วที่รอยต่อระหว่างตัวภาชนะกับฝาเป็นอย่างดี ทำให้ไอน้ำ ระเหยออกจากภาชนะได้เฉพาะในบริเวณรูตรงกลางของส่วนที่เป็น ฝ่าเท่านั้น ส่วนที่อยู่ตรงกลางฝา ซึ่งเรียกว่า petcock จะเปิดระบาย Pat = 101 kPa atm Petcock PRESSURE COOKER A = 4 mm² รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-27

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

คำนวนพิกัดของหม้อแปลง cascade ยังไงหรอครับ อย่าง 400 kva 400 kv 3 ตัว

ขั้นบันไดก็คือ ขดลวดสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กของหม้อแปลงตัวแรก จะต้องจ่ายกระแสให้กับหม้อ แปลงตัวต่อไปด้วย ฉะนั้นถ้ามีการต่อขั้นบันไดหลายๆ ขั้น หม้อแปลงตัวแรกก็จำเป็นต้องมีกำลังใหญ่ กว่าตัวที่มาต่อเพิ่มขึ้นต่อไป ถ้าใช้หม้อแปลงที่มีกำลังเท่ากันมาต่อขั้นบันได กำลังไฟฟ้าจ่ายออกที่ แรงดันสูง าหนดจะน้อยกว่าผลรวมกำลังของแต่ละตัว นั่นคือหม้อแปลงสามารถจ่ายกระแสได้น้อย กว่าที่กำหนด เช่น หม้อแปลงทดสอบ 400 kV 400kVA 1A 3 ตัวมาต่อขั้นบันได จะได้แรงดันรวมที่ กำหนด 1200 KV แต่จะเหลือกำลังเพียง 900 KVA และกระแส 0.75 A เป็นต้น 1 : ขดลวดแรงต่ำ หรือขดลวดสร้างฟลักซ์ aiman (low voltage or exciting) 2 : ขดลวดแรงสูง (high voltage winding) 3 : ขดลวดคาบเกี่ยว (coupling winding) รูปที่ 2-10 ขดลวดหม้อแปลงสำหรับต่อขั้นบันได การฉนวนหม้อแปลงเมื่อต่อแบบขั้นบันได 3 ขั้น ตามรูปที่ 2-11 จะเห็นได้ว่าหม้อแปลงตัวที่ 2 ซึ่งได้รับแรงดันสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กผ่านทางขดลวดต่อคาบเกี่ยวนั้น มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับแรงสูงของ ตัวแรก ฉะนั้นหม้อแปลงตัวที่ 2 นี้ จะต้องได้รับการฉนวน หรือตั้งอยู่บนฉนวนรองรับเท่ากับแรงดัน สูงของตัวแรก ดังในรูป 2-11 200 KVA 0000 400 KVA 3P +1. leee Hil leee 2P 300KVA U 2P ele leee reeeee P III มวน =U 2U 2 leee ถัง S.V 41 นวม - 2U รูปที่ 2-11 ไดอะแกรมการต่อหม้อแปลงทดสอบแบบขั้นบันได 3U กล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอทำได้มั้ยครับ

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 1-1 กำหนดให้โคมไฟมีน้ำหนัก 220 N ถูกแขวนโดยเส้นลวด 3 เส้น ซึ่งเชื่อมต่อกันโดยใช้แหวนที่จุด A ดังที่แสดงในรูป ที่ Prob. 1-1 จงหาค่ามุม 6 ที่ทำให้หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ย (average normal stress) ในเส้นลวด AC เป็นสองเท่าของ หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยในเส้นลวด AD และจงหาค่าหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในเส้นลวดทั้งสอง 6.3 mm 1.20 m 0.90 m P V A รูปที่ Prob. 1-1 1-2 กำหนดให้โครงข้อหมุน (truss) มีลักษณะดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-2 จงหาหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน ต่างๆ ของโครงข้อหมุนพร้อมทั้งระบุด้วยว่าเป็นหน่วยแรงดึงหรือหน่วยแรงกดอัด เมื่อโครงข้อหมุนมีพื้นที่หน้าตัดดังต่อไปนี้ AAR = 960 mm², ABC = 516 mm², ua AAC AB = 385 mm² 1.20 m 0.90 m รูปที่ Prob. 1-2 E 45° B 8.9 mm 7.6 mm 1-3 ชิ้นส่วนต่างๆ ของโครงข้อหมุน ดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-3 มีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ 806 mm ถ้ากำหนดให้หน่วยแรง ตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนใดๆ ของโครงข้อหมุนมีค่าได้ไม่เกิน 140 MPa จงหาค่าแรง P สูงสุด P รูปที่ Prob. 1-3 F 1.20 m 2.5 kN 7 B ›COS 45° D

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอช่วยได้มั้ยคะข้อ18-21(thermodynamics)

1-18 มาโนมิเตอร์บรรจุของเหลวที่มีความถ่วงจำเพาะ 0.8 ถ้าความ แตกต่างของระดับของเหลวในขาทั้งสองของมาโนมิเตอร์ เท่ากับ 300 mm จงหาความดันแตกต่างระหว่างจุดทั้งสอง และถ้าหากพิจารณาที่ความดันแตกต่างเท่ากัน รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-17 แต่เปลี่ยน ของเหลวเป็นชนิดที่มีความหนาแน่น 13,600 kg/m จงหาว่าระดับของเหลวในขาทั้งสองของมาโนมิเตอร์ จะต่างกันเท่าใด (ตอบ 2.35 kPa, 17.6 mm) 1-19 มาโนมิเตอร์ที่ใช้สารบรรจุเป็นปรอท ( = 13,600 kg/m) ได้รับการต่อเข้ากับท่ออากาศดังแสดงในรูป (หน้า 29) เพื่อวัดความดันภายในท่อ ถ้าความดันบรรยากาศในบริเวณนั้นเป็น 100 kPa (ก) จงพิจารณา ว่าความดันในท่อว่าสูงกว่าหรือต่ำกว่าความดันบรรยากาศ (ข) จงคำนวณหาความดันสัมบูรณ์ในท่อ (ตอบ 102.0 kPa) แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับเทอร์โมไดนามิกส์ 29 - ความดันเกจของอากาศในถังเป็น 80 kPa ดังแสดงในรูป จงหาความสูง 1 ของปรอทในมาโนมิเตอร์ ตอบ 58.2 cm) AIR P P= ? h = 15 mm รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-19 A = 35 cm²81 80 kPa Air 30 cm 75 cm Water h รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-20 Oil SG=0.72 -Mercury SG= 13.6 (ผิวของชั้นน้ำมันเปิดออกสู่ - ภาชนะบรรจุของเหลวหลายชนิดต่ออยู่กับหลอดรูปตัวยูดังแสดงในรูป บรรยากาศ) จงใช้ข้อมูลที่กำหนดในการคำนวณหาความดันเกจที่จุด A รวมทั้งพิจารณาว่าหากเปลี่ยน ของเหลวในภาชนะเป็นปรอท ความสูงของปรอทจะเป็นเท่าใดที่ความดันเท่ากัน (ตอบ 0.471 kPa และ 0.353 cm)

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

แสดงวิธีทำ วิชาเทอโมไดนามิกส์

แบบทดสอบกลางภาคเรียนที่ 1/2564 วิชา เทอร์โมไดนามิกส์ 1 ทดสอบวันที่ 29 สิงหาคม 2564 ข้อ 1. กำหนดให้อุณหภูมิร่างกายปกติเท่ากับ 37 c ตรวจพบว่ามีอาการเป็นไข้สูง 38.5 % จะต้องระบายความร้อนหรือถ่ายเท ความร้อนออกเท่าใดจึงจะเป็นปกติ...สมมติให้ ร่างกายมีมวลที่สะสมความร้อนได้ % ของน้ำหนักตัว....(50 คะแนน) ข้อ 2. น้ำในหม้อน้ำมีความดันเท่ากับ 20 KPa มีอุณหภูมิเท่ากับ (น้ำหนักตัว). C จงแสดงการตรวจสอบสถานะของน้ำที่ สภาวะดังกล่าว (80 คะแนน) ข้อ 3. ต้องการน้ำอุ่นอุณหภูมิ 55C ผสมด้วยไออิ่มตัว (h.) อุณหภูมิเท่ากับ (ส่วนสูง), ผสมกับน้ำเย็น (h) มีมวลเท่ากับ (น้ำหนักตัว)....kg จงคำนวณหาอุณหภูมิของน้ำเย็นที่ใช้ผสม (130 คะแนน) * โดยใช้มวลของไอน้ำเท่ากับ 2.5 kg

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0