ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยทีครับ ขอบคุณครับ

แบบทดสอบ เรื่อง คาน คสล. คำสั่ง จงออกแบบคาน B1 มีความยาว 5.00 m โดยกำหนดรายละเอียดดังนี้ 1. น้ำหนักพื้น ผนังและน้ำหนักบรรทุกจรถ่ายลงคาน วิธีทํา f'c (ksc) 170 R1 fc (ksc) 64 1. กําหนดหน้าตัดคาน น้ำหนักคาน M max. Mc รวมน้ำหนักที่กระทำต่อคาน (w) 2. คำนวณหาโมเมนต์ As Mc = ดังนั้น เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ท้องคาน 3. คำนวณแรงเฉือน n 10 fs (ksc) 1,200 1,500 1,700 w kg/m 5.00 m = 952 kg/m (ไม่รวมน้ำหนักคาน) k 2 0.35 0.30 0.27 m j 0.88 0.90 0.91 kg/m - (w*d) kg*m Mmax, เสริมเหล็กรับแรง ksc 4.1 แรงเฉือนสูงสุดจะเกิดที่ระยะ d ห่างจากขอบฐานที่รองรับ WL แรงเฉือนที่เกิดขึ้น V cm 2 R2 kg/m R (ksc) 9.86 8.64 7.86 g ....

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ฟิสิกส์ค่ะ

5. จากรูปที่ 5 กำหนดให้ ระบบไฟฟ้าเป็นระบบ CBA แรงดันไฟฟ้า Vs = 350 cos (500-35) V. ต่อเข้ากับโหลด 2,10 kW. PF, = 0.75 (Lag), Z₂ = 24 kW 1 PF₂=0.85 (Lag) unz Z, - 15 kW 1 PF = 0.90 (Lead) จงคำนวณหาค่าต่างๆ ดังนี้ (20 คะแนน) - 3 ก. หาค่าอิมพีแดนซ์ของโหลด Z Z และ Z (6 คะแนน) ข. กระแสไฟฟ้าที่สาย II และ I ( 6 คะแนน) ค. กำลังไฟฟ้าที่วัตต์มิเตอร์ที่ต่อ P และ P, วัดได้ 4 คะแนน) ง. กำลังไฟฟ้ารวม P (2 คะแนน) จ. เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรม ของแรงดันและกระแส (2 คะแนน) รูปที่ 5 6. จากรูปที่ 6 ไฟฟ้าระบบ ABC มีแรงดัน Vac = 500 Cos (314t -20°) และ Z, Z, Z, - 35 + 40 - จงคำนวณหาค่าต่างๆ ดังนี้ (20 คะแนน) ก. หาค่าแรงดันไฟฟ้า 3 1 VAB VBC, VCA VAN, VAN VAN (6) " ข. กระแสที่ไหลในสาย 11 และ 1. (6 คะแนน) ค. กำลังไฟฟ้าของโหลด P (4 คะแนน) เขียนเฟสเซอร์ ไดอะแกรม ของแรงดันและกระแส (4 คะแนน) 7. จากรูปที่ 7 เมื่อวงจร B A T Z Ic Z₂ Z₁ N Z₁ Z₂ 3 Z₂

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอทำได้มั้ยครับ

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 1-1 กำหนดให้โคมไฟมีน้ำหนัก 220 N ถูกแขวนโดยเส้นลวด 3 เส้น ซึ่งเชื่อมต่อกันโดยใช้แหวนที่จุด A ดังที่แสดงในรูป ที่ Prob. 1-1 จงหาค่ามุม 6 ที่ทำให้หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ย (average normal stress) ในเส้นลวด AC เป็นสองเท่าของ หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยในเส้นลวด AD และจงหาค่าหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในเส้นลวดทั้งสอง 6.3 mm 1.20 m 0.90 m P V A รูปที่ Prob. 1-1 1-2 กำหนดให้โครงข้อหมุน (truss) มีลักษณะดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-2 จงหาหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน ต่างๆ ของโครงข้อหมุนพร้อมทั้งระบุด้วยว่าเป็นหน่วยแรงดึงหรือหน่วยแรงกดอัด เมื่อโครงข้อหมุนมีพื้นที่หน้าตัดดังต่อไปนี้ AAR = 960 mm², ABC = 516 mm², ua AAC AB = 385 mm² 1.20 m 0.90 m รูปที่ Prob. 1-2 E 45° B 8.9 mm 7.6 mm 1-3 ชิ้นส่วนต่างๆ ของโครงข้อหมุน ดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-3 มีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ 806 mm ถ้ากำหนดให้หน่วยแรง ตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนใดๆ ของโครงข้อหมุนมีค่าได้ไม่เกิน 140 MPa จงหาค่าแรง P สูงสุด P รูปที่ Prob. 1-3 F 1.20 m 2.5 kN 7 B ›COS 45° D

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอช่วยได้มั้ยคะข้อ18-21(thermodynamics)

1-18 มาโนมิเตอร์บรรจุของเหลวที่มีความถ่วงจำเพาะ 0.8 ถ้าความ แตกต่างของระดับของเหลวในขาทั้งสองของมาโนมิเตอร์ เท่ากับ 300 mm จงหาความดันแตกต่างระหว่างจุดทั้งสอง และถ้าหากพิจารณาที่ความดันแตกต่างเท่ากัน รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-17 แต่เปลี่ยน ของเหลวเป็นชนิดที่มีความหนาแน่น 13,600 kg/m จงหาว่าระดับของเหลวในขาทั้งสองของมาโนมิเตอร์ จะต่างกันเท่าใด (ตอบ 2.35 kPa, 17.6 mm) 1-19 มาโนมิเตอร์ที่ใช้สารบรรจุเป็นปรอท ( = 13,600 kg/m) ได้รับการต่อเข้ากับท่ออากาศดังแสดงในรูป (หน้า 29) เพื่อวัดความดันภายในท่อ ถ้าความดันบรรยากาศในบริเวณนั้นเป็น 100 kPa (ก) จงพิจารณา ว่าความดันในท่อว่าสูงกว่าหรือต่ำกว่าความดันบรรยากาศ (ข) จงคำนวณหาความดันสัมบูรณ์ในท่อ (ตอบ 102.0 kPa) แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับเทอร์โมไดนามิกส์ 29 - ความดันเกจของอากาศในถังเป็น 80 kPa ดังแสดงในรูป จงหาความสูง 1 ของปรอทในมาโนมิเตอร์ ตอบ 58.2 cm) AIR P P= ? h = 15 mm รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-19 A = 35 cm²81 80 kPa Air 30 cm 75 cm Water h รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-20 Oil SG=0.72 -Mercury SG= 13.6 (ผิวของชั้นน้ำมันเปิดออกสู่ - ภาชนะบรรจุของเหลวหลายชนิดต่ออยู่กับหลอดรูปตัวยูดังแสดงในรูป บรรยากาศ) จงใช้ข้อมูลที่กำหนดในการคำนวณหาความดันเกจที่จุด A รวมทั้งพิจารณาว่าหากเปลี่ยน ของเหลวในภาชนะเป็นปรอท ความสูงของปรอทจะเป็นเท่าใดที่ความดันเท่ากัน (ตอบ 0.471 kPa และ 0.353 cm)

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

เรื่องการกลั่น ทำไม่เป็น

18:17 ส. 4 ธ.ค. แlจ 31% 0 ๐. 01:01 < T 0 8 ? + : ] 2. ถ้าต้องการกลั่นของเหลวที่ประกอบด้วย Ethanol 60 โมลเปอร์เซ็นต์ และ Isopropanol 40 โมลเปอร์เซ็นต์ เพื่อที่จะแยกให้ได้ Ethanol 95 โมลเปอร์เซ็นต์ที่ยอดหอกลั่น และ Isopropanol 90 โมลเปอร์เซ็นต์ที่ก้นหอกลั่น ถ้าสารละลายที่ป้อนเข้าหอกลั่นเป็นของผสมระหว่างของเหลวและไอ จงหาจำนวนชั้นตามทฤษฎีของการกลั่นนี้ (ให้ q = 0.8 และ Reflux = 1.5 Rm) (30 คะแนน) โดยที่ Ethanol มีน้ำหนักโมเลกุล เท่ากับ 46.07 และ จุดเดือดที่ 78.4 องศาเซลเซียส Isopropanol มีน้ำหนักโมเลกุล เท่ากับ 60.10 และ จุดเดือดที่ 82.3 องศาเซลเซียส 1.0 0.9 0.8 0.7 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0.0 0.0 1.0+ 0.91 F 0.1 0.8ฯ -0.2 0.7- -0.3 0.6 - F0.4 0.51 -0.5 5 0.4า F0.6 0.33 -0.7 0.24 -0.8 0.13 F0.9 0.0+ - 1,0 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.5 0.7 0.8 0.9 1.0 X1 = Mole fraction of Ethanol in liquid phase 11 Y1 = Mole fraction of Ethanol in vapor phase > < ๑ \E

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0