ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุป แล้วก็ทำเป็นข้อๆให้หน่อยได้มั้ยคะ🙏🏻

dtac-T.Better Together 13:36 บทบัญญัติที่ 4 : คนตอบสนอ cdn.fbsbx.com 4 44%E เรียบร้อย สนองต่อสิ่งจูงใจ เนื่องจากคนตัดสินใจโดยเปรียบเทียบต้นทุนและผลประโยชน์ ดังนั้น พฤติกรรมของคนจึงเปลี่ยนเมื่อ โครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์เปลี่ยนไป นั่นคือ คนตอบสนองต่อสิ่งจูงใจ นั่นเอง เมื่อราคาแอปเปิลสูงขึ้น คนก็ตัดสินใจซื้อลูกแพร์มากขึ้น ซื้อแอปเปิลน้อยลง เพราะต้นทุนในการได้มาซึ่งแอปเปิลสูงขึ้น ใน ขณะเดียวกัน ชาวสวนแอปเปิลตัดสินใจจ้างคนงานมากขึ้น และปลูกแอปเปิลมากขึ้น เนื่องจาก ผลประโยชน์ จากการขายแอปเปิลสูงขึ้น บทบาทหลักของสิ่งจูงใจในการกำหนดพฤติกรรมมีความสำคัญสำหรับการออกแบบ นโยบายของรัฐ(Public Policy) นโยบายของรัฐมักเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์ของกิจกรรม ภาคเอกชน เมื่อผู้กำหนดนโยบายล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แสดงว่านโยบายรัฐอาจก่อให้เกิดผลที่ ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น ตัวอย่างของผลที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจจากนโยบายของรัฐ เช่น นโยบายว่าด้วยเข็มขัด นิรภัยและระบบป้องกันความปลอดภัยรถยนต์ ในทศวรรษ 1950 รถที่มีเข็มขัดนิรภัยมีจํานวนน้อย ต่างจากใน ปัจจุบันที่รถทุกคันล้วนมีเข็มขัดนิรภัย เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงก็เพราะ "นโยบายของรัฐ" นั่นเอง ในช่วง ปลายทศวรรษ 1960 หนังสือของ Ralph Nader ที่ชื่อ “Unsafe at Any Speed” ก่อให้เกิดกระแสเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของรถยนต์ รัฐสภาสหรัฐอเมริกาออกกฎหมายบังคับให้ผู้ผลิตรถยนต์ต้องสร้างอุปกรณ์รักษาความ ส่ ปลอดภัย ซึ่งหมายถึงรถทุกคันต้องมีอุปกรณ์มาตรฐานอย่างเข็มขัดนิรภัยด้วย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยกระทบ ความปลอดภัยของรถยนต์อย่างไร ? ผลทางตรงในเรื่องนี้ชัดเจนอยู่แล้ว ถ้ามีเข็มขัดนิรภัยในรถทุกคัน คนก็คาด เข็มขัดนิรภัยกันมากขึ้น และโอกาสที่จะรอดจากอุบัติเหตุรถยนต์ที่มีมากขึ้น ในแง่นี้ เข็มขัดนิรภัยช่วยรักษาชีวิต ผลดีทางตรงด้านความปลอดภัยนี้จูงใจให้รัฐสภาออกกฎหมายดังกล่าว แต่การทำความเข้าใจผลทั้งหมดของ กฎหมายต้องตระหนักว่า คนเปลี่ยนพฤติกรรมโดยตอบสนองสิ่งจูงใจที่เขาเผชิญอยู่ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องใน กรณีนี้คือการขับรถเร็วและความระมัดระวังในการขับรถ การขับรถช้าและระมัดระวังมีต้นทุนเพราะสิ้นเปลือง เวลาและพลังงาน เมื่อผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลตัดสินใจว่าจะขับรถอย่างปลอดภัยเพียงใด ก็จะเปรียบเทียบ ผลประโยชน์ส่วนเพิ่มจากการขับรถอย่างปลอดภัยกับต้นทุนส่วนเพิ่ม เขาจะขับรถช้าและระมัดระวังเมื่อ ผลประโยชน์จากการเพิ่มความปลอดภัยสูงกว่า นี่เป็นการอธิบายว่าทำไมคนถึงขับรถช้าและระมัดระวังขณะ ถนนลื่นมากกว่าสภาพถนนปกติ หากเราพิจารณาว่าการออกกฎหมายให้คาดเข็มขัดนิรภัยเปลี่ยนแปลงการ คำนวณต้นทุนและผลประโยชน์ของผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลอย่างไร ? พบว่าเข็มขัดนิรภัยทำให้ผู้ขับขี่รู้สึกว่าอุบัติเหตุ มีต้นทุนต่ำลงเพราะการคาดเข็มขัดนิรภัยช่วยลดความน่าจะเป็นในการบาดเจ็บและล้มตาย ดังนั้น เข็มขัดนิรภัย ลดผลประโยชน์จากการขับรถช้าและระมัดระวังลง ผู้ขับขี่ก็ตอบสนองต่อการใช้เข็มขัดนิรภัยโดยขับรถเร็วขึ้น และลดความระมัดระวังในการขับขี่ลง ผลสุดท้าย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยทำให้จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มสูงขึ้น 5 แล้วกฎหมายกระทบจำนวนคนตายจากการขับขี่อย่างไร ? ผู้ขับขี่ที่คาดเข็มขัดนิรภัยอาจมีโอกาสรอดชีวิตมาก ขึ้นจากอุบัติเหตุแต่ละครั้ง แต่โอกาสเกิดอุบัติเหตุอาจเพิ่มจำนวนมากครั้งขึ้น จำนวนคนตายสุทธิในประเด็นนี้ยัง ไม่ชัดเจน ยิ่งกว่านั้น การที่ผู้ขับขี่เลือกลดความระมัดระวังในการขับขี่ลงส่งผลกระทบทางลบต่อคนเดินถนน (และผู้ขับขี่ที่ไม่ได้คาดเข็มขัดนิรภัย) เพราะโอกาสเกิดอุบัติเหตุของคนเหล่านี้สูงขึ้นและไม่ได้รับการป้องกัน จากเป็นข้อมกัน ดังนั้น จอมมายว่าด้วยเข็มขัดนิรฉันมีแนวโน้มทำให้จำนวนการตายของคนเดินถนนเพิ่มสูงขึ้น 3

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยทีค่ะ ใครเข้าใจบ้าง

ตอนที่ 2 มี 4 ข้อ เลือกทํา 3 ข้อ (15 คะแนน) ) ร็บ เซ ซิจ๕ป. ะ = ม ' ล2เเรซีอโร 1. บริษัท ชาลาลา จํากัด ของไทยได้มาลงทุนตั้งโรงงานผลิตเครื่องแต่งกายบุรุบในประเทศอินเดียโดยสามารถ ผลิตสินค้าได้มูลค่าปีละ 21,000,000 บาท บริษัท นิพนธ์ ประเทศอินเดีย จํากัด ซึ่งเป็นของคนอินเดียผลิต สินค้าในประเทศจีนได้มูลค่าปีละ 25,000,000 บาท และมีบริษัทของคนอินเดียผลิตสินค้าในประเทศอินเคีย ซึ่งประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการส่งออก โดยมีมูลค่าเท่ากับ 50,000,000 บาท มีแรงงานอินเดียไปทํางานในไทย ได้รับผลตอบแทน 15,000,000 บาท และแรงงานไทยทํางานในอินเดียได้รับผลตอบแทน 18,000,000 บาท . ร : โดยทั้งสามบริษัทมีรายจ่ายต่อปีได้แก่ ค่าจ้างแรงงาน 5,000,000 บาท ค่าเช่าที่ดิน 3,000,000 บาท ค่าคอกเบีย 2.000,000 บาท ค่าเสื่อมราคา 4,000.000 บาท ค่าผ้าและวัสดุ 2.000,000 บาท กําไรของผู้ประกอบการ 5.600,000 บาท ภาษีเงินได้นิติบุคคล 2,500,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.400.000 บาท และภาษีธุรกิจเฉพาะ 2.200,000 บาท ให้แสดงวิธีการหาค่าต่างๆ ต่อไปนี้ 1.1 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น 608, @ง๒ ของไทย 1.2 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น 605, 6๕3๒ ของอินเคีย 1.3 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น งาง6 ของไทย 1.4 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น มาง๒ ของอินเดีย 1.5 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น ง1 ของอินเดีย 2. สมมติว่า ประเทศไทยมีการค้าขายกับการลงทุนข้ามชาติ และมีรายการต่างๆ ดังนี้ (ให้แสดงวิธีการหาค่าต่างๆ ) ผลตอบแทนบัจจัยการผลิตใน ต 1 6 * 1ห ต่างประเทศ อินเดีย ญี่ปุ่น ไทย อินเคีย 25,000 8,000 2.000 3,500 6,000 - 2.000 2.000 ญี่ปุ่น 70,000 30,000 5.000 8.000 2.500 3.000 - 4.000 ไทย 90,000 50.000 3.000 5.000 15,000 1.000 2.500 - 2.1 605, 6ม ของไทยมีค่าเท่ากับเท่าไร 2.2 605, 6มธ ของญี่ปุ่นมีค่าเท่ากับเท่าไร 2.3 6๕0ธ, สมธ ของอินเดียมีค่าเท่ากับเท่าไร 2.4 มูลค่าการส่งออกสุทธิของทั้ง 3 ประเทศมีค่าเท่ากับเท่าไร 2.5 รายได้สุทธิจากต่างประเทศของไทย ญี่ปุ่นและอินเคียมีค่าเท่ากับเท่าไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0