ノートテキスト
ページ1:
บทที่ 5 ระบบการเงินและ นโยบายการเงิน ระบบการเงินหมายถึง ระบบ อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้กู้ยืม หรือผู้ออมและผู้ที่ต้องการกู้ยืม หรือต้องการใช้เงินโดยระบบ การเงินจะทำหน้าที่ในการกระจาย เงินทุนจากผู้มีเงินออมหรือผู้ที่ไปกู้ ลงทุนหรือผู้กู้ยืมโดยผ่านตลาด การเงินและสถาบันการเงิน จะ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ การ กู้ยืมทางตรง และการกู้ยืม ทางอ้อม ข บ
ページ2:
ส่วนประกอบของผู้มี เงินทุนส่วนเกินและผู้บาด แคลนเงินทุน ระดับองค์กร ผู้มีเงินออม ผู้ขาดแคลนเงินทุน น่าไปลงทุนท่าธุรกิจ มีจํานวนมากเป็นรายเล็กรายบ่อยแต่มี ครัวเรือนที่น่าเงินมาเพื่อใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคหรือ เป็นธุรกิจที่มีค่าไรแต่ยังไม่มีโอกาสในการ เป็นองค์กรที่สำคัญที่สุดในระบบการเงิน ครัวเรือน หลายราย ธุรกิจ รัฐบาล ภาค ลงทุนในโครงสร้างที่น่าสนใจ เป็นองค์กรที่มีรายรับจากการเก็บภาษีอากร นำเงินมาใช้ในการลงทุนใหญ่ และรายได้อื่นๆ ประชาชนหรือธุรกิจต่างประเทศที่มีเงินทุน กูขาดแคลนเงินทุนจากต่างประเทศ ต่างประเทศ ส่วนเกินมาลงทุนผ่านตลาดการเงินและ สถาบันการเงินในประเทศ
ページ3:
ระบบการเงินก็จะมีบทบาท หน้าที่สำคัญ 2 ประการคือ ส่งเสริมการออม สนับสนุนการ ระดมทุน เป็นคลังเพื่อรักษา ความมั่งคั่ง การให้บริการด้าน การชำระ การประเมินสินเชื่อ การเสนอช่องทางการบริหาร ความเสี่ยง แล้วสุดท้ายเป็น เครื่องมือดำเนินนโยบายทาง เศรษฐกิจของรัฐบาล
ページ4:
โครงสร้างและองค์ประกอบของระบบ การเงิน จะประกอบด้วย ตลาดการเงิน เป็นตลาดที่อำนวย ความสะดวกในการโอนหรือเปลี่ยนมือ สินทรัพย์ทางการเงินจากหน่วย เศรษฐกิจที่มีเงินออมไปสู่หน่วย เศรษฐกิจที่ต้องการเงินออม การจําแนกตลาดเงินจําแนกตาม หลักประเภทหลักทรัพย์หรือลักษณะ ของลัทธิเรียกร้อง -ตลาดตราสารหนี้ จะประกอบด้วย ตลาดตราสารหนี้ที่สามารถเปลี่ยนมือ ได้ ตลาดตราสารหนี้ที่ไม่สามารถ เปลี่ยนมือได้
ページ5:
-ตลาดตราสารทุน ประกอบด้วย หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ และหุ้นบุริมสิทธิ ก็จะประกอบด้วย หุ้นบุริมสิทธิ ชนิดสะสม -หุ้นบุริมสิทธิชนิดไม่สะสม และ หุ้นบุริมสิทธิชนิดร่วมรับ ใบสำคัญแสดงสิทธิ - – หน่วยลงทุน
ページ6:
-ใบแสดงผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์ - อ้างอิงไทย ใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจาก หลักทรัพย์อ้างอิง ตลาดการเงินประเภทการนำเอา หลักทรัพย์ออกจำหน่าย จะประกอบด้วย —ตลาดแรก เป็นตลาดที่มีการเสนอขายออก ตลาดเป็นครั้งแรก มีการเสนอขาย 2 วิธีก็คือ บายแก่บุคคลในวงจํากัด และเสนอขายแก่ ประชาชนทั่วไป - ตลาดสํารอง คือตลาด ซื้อขายสินทรัพย์ ทางการเงินทีเคยซื้อขายแล้วออกขายไปแล้วแต่ ยังไม่ครบ าหนดการไถ่ถอน ตลาดการเงินจำแนกประเภทการแบ่งตาม โครงสร้างจะจำแนกได้ก็คือ -ตลาดทางการ —ตลาดไม่เป็นทางการ
ページ7:
ตลาดการเงินจำแนกประเภทแบ่งตามอายุ ครบกาหนดของหลักทรัพย์แบ่งได้คือ -ตลาดเงิน นี่มีการระดมเงินทุนการให้ สินเชื่อระยะสั้น ระยะเวลา 1 ปี จะ ประกอบด้วย ตั๋วเงินคลัง ตั๋วแลกเงิน ตั๋ว สัญญาใช้เงิน -ตลาดทุน คือตลาดที่มีการซื้อขาย หลักทรัพย์ระยะยาวที่มีอายุเกิน 1 ปี เช่น พันธบัตรรัฐบาล ตลาดการเงินจําแนกประเภทแบ่งตาม เกณฑ์เวลาการส่งมอบสินทรัพย์หรือ ลักษณะของสิทธิเรียกร้องและการชำาระ ราคา จําแนกเป็น -ตลาดทันที -ตลาดล่วงหน้า
ページ8:
สถาบันการเงิน จะประกอบด้วยสถาบัน การเงินที่ประกอบธุรกิจทางการเงินที่เป็น สถาบันการเงิน และสถาบันที่ไม่ใช่สถาบัน การเงิน โดยที่ สถาบันการเงินที่ประกอบธุรกิจทางการเงินที เป็นสถาบันการเงิน ซึ่งจะประกอบย่อยไปอีกก็ จะมี สถาบันการเงิน จะประกอบด้วย -ธนาคารพาณิชย์ ก็จะประกอบด้วย ธนาคาร พาณิชย์เพื่อรายย่อย ธนาคารพาณิชย์ที่เป็น บริษัทลูกของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ และ สาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ —บริษัทเงินทุน หมายความว่า บริษัทมหาชน จำกัดที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเงินทุน -บริษัทเครดิตฟองซิเอร่ เป็นการประกอบธุรกิจ รับฝากเงินหรือรับเงินจากประชาชนที่ใช้จ่ายคืน เมื่อสิ้นระยะเวลาอันจําหนดไว้
ページ9:
การจัดตั้งและการถือหุ้นสถาบันการเงิน ประกอบด้วย -การจัดตั้งในการประกอบธุรกิจธนาคาร พาณิชย์ -การถือหุ้น การก่ากับสถาบันการเงิน ประกอบด้วย -การดาเนินกองทุนและสินทรัพย์ ประกอบด้วย น่าเงินที่นําเข้าจากสํานักงาน ใหญ่หรือสาขาอื่นของสถาบันการเงิน ต่างประเทศตั้งอยู่นอกประเทศไทย เงิน สํารองต่างๆ และกำไรสุทธิแต่ละรอบปีบัญชี องสาขาหลักจับหักผลขาดทุนที่เกิดขึ้นใน ทุกรอบปีบัญชีแล้วรวมถึงกำไรที่ได้โอนไปเป็น ส่วนของสำนักงานใหญ่ในทางบัญชีแล้วแต่ ยังไม่ได้จําหน่ายออกนอก
ページ10:
—การลงทุนของสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศ ไทยประกาศดังต่อไปนี้ กาหนดห้ามสถาบันการเงินถือหุ้นหรือมีหุ้นโดยตรง หรือทางอ้อมในบริษัทใดดังต่อไปนี้ ร้อยละ 20 ของเงินกองทุนทั้งหมดของ สถาบันการเงินสำหรับการซื้อหุ้นมีในทุกบริษัท รวมกัน ร้อยละ 15 ของเงินทุนทั้งหมดของสถาบัน การเงินนั้นสําหรับการถือหุ้นในบริษัทแต่ละราย ร้อยละ 20 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้ว ทั้งหมดของบริษัทนั้น - ห้ามไม่ให้สถาบันการเงินถือมีซึ่งหลักทรัพย์ ประเภท หุ้นหรือหลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับหุ้นของ สถาบันการเงินอื่นที่ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน และหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับหุ้นสถาบันการเงินนั้น ตามหลักเกณฑ์ที่ธนาคารประเทศไทยกำหนด
ページ11:
-ธนาคารประกอบธุรกิจของสถาบันการเงิน มีหน้าที่ รับฝากเงิน ทําสัญญาค้ำประกันด้วย บุคคล ทํานิติกรรมหรือสัญญากับประชาชน และเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันการเงิน —การถือปฏิบัติเน๊อความมั่นคง ธนาคารแห่ง ประเทศไทยมีอานาจจําหนดให้สถาบัน การเงินถือปฏิบัติในกรณีเพื่อความมั่นคงของ สถาบันการเงินและเพื่อตรวจสอบของ ผู้ตรวจการสถาบันการเงิน -การถือปฏิบัติเพื่อการแก้ไขภาวะเศรษฐกิจ -การดำเนินการต้องได้รับความเห็นชอบจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย ประกอบด้วย ตาม มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีคะแนนเสียงไม่น้อย กว่าสามในสี่ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ ถือหุ้นมาประชุมและมีสิทธิ์ในการออกเสียง ลงคะแนน การซื้อโอนจากบริษัทอีนทั้งหมด และการทำสัญญา
ページ12:
-ข้อห้ามในการใช้สินเชื่อ จะประกอบด้วย ธุรกรรมทีมีลักษณะคล้ายการให้สินเชื่อหรือ ประกันหน้แก่กรรมการและอืนๆ การรับรอง หรืออาวัลผู้สั่งจ่าย การจ่ายเงินหรือ สินทรัพ แก้กรรมการ การขายหรือให้เช่า สินทรัพย์ใดๆแก่กรรมการและอื่นๆ และการ ให้ผลประโยชน์อื่นใดแก่กรรมการและอื่นๆ —กล่มธุรกิจทางการเงิน ประกอบด้วย สถาบันการเงินและบริษัทฯ ประกอบธุรกิจ ทางการเงินหรือธุรกิจที่สนับสนุนธุรกิจ การเงิน ซึ่งมีอักษณะคือ กลุ่มธุรกิจ บริษัท การเงินเป็นแม่ และบริษัทอินหรือบริษัท เดียวกันหลายบริษัทเป็นจก ธุรกิจทีสถาบัน การเงินไม่เป็นแม่แต่มีสถาบันการเงินเป็น บริษัทลูก ก๋ากับและตรวจสอบสถาบัน การเงินบริษัทแม่และบริษัท ก คําหนด อัตราส่วนของเงินทุนของกลุ่มธุรกิจการเงิน เป็นอัตราส่วนกับสินทรัพย์และต่างๆ กําหนดให้กล่มธุรกิจการเงินเปิดเผยข้อมูล ระหว่างกัน การรับหลักทรัพ ออกโดย บริษัทแม่ และการทําธุรกิจใดๆ ส่งผลให้ บริษัทแม่บริษัทลูกเกิดประโยชน์
ページ13:
-การบริหารสินทรัพย์และการดำรง สินทรัพย์สภาพคล่อง จะ ประกอบด้วย เงินสุด เงินฝาก ธนาคารแห่งประเทศไทย เงินฝาก สุทธิที่สถาบันการเงินอื่น บัตรเงิน ฝากที่ปราศจากภาระผูกพัน หลักทรัพย์รัฐบาลไทย หุ้นกู้หรือ พันธบัตรที่กระทรวงการคลังผูกพัน และสามารถเปลี่ยนมือได้ ทรัพย์สินอื่นใดที่กระทรวงการคลัง กำหนดและสามารถโอนเปลี่ยนมือ ได้ และสินทรัพย์อื่นที่สภาพคล่อง และความน่าเชื่อถือตามหลักเกณฑ์ ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด และสามารถโอนเปลี่ยนมือได้
ページ14:
-การกำกับทั่วไป การลดทุนโดยไม่ได้รับ อนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย ซื้อ หรือมีไว้ซึ่งอสังหา สังหาริมทรัพย์ และการรับหุ้น ของสถาบันการเงินนั้นเป็นการประกัน -การแก้ไขฐานะของสถาบันการเงิน สถาบัน การเงินไม่สามารถจ่ายเงิน ทรัพย์สินหรือ ค่าตอบแทนที่ส่งผลทำให้กองทุนเหลือต่ำ กว่าเงินทุนกองทุนที่ต้องดำรงไว้ สถาบัน การเงินมีกองทุนเหลือต่ำกว่าเงินกองทุนที่ ต้องด่ารงสถาบันการเงินต้องเสนอ โครงสร้างเพื่อแก้ไขฐานะและดำเนินการต่อ ธนาคารแห่งประเทศไทย สถาบันการเงิน ดำรงเงินกองทุนต่ำกว่าร้อยละ 16 ของ อัตราที่กำาหนด ของอัตราที่กำหนดสถาน ดำรงกองทุนต่ำกว่าร้อยละ 35 ของอัตราที่ กําหนดให้
ページ15:
สถาบันที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน ประกอบด้วย บริษัทหลักทรัพย์ และบริษัทประกันชีวิต สถาบันการเงินเฉพาะกิจ เป็นสถาบัน การเงิน จัดตั้งโดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะและ จัดตั้งภายใต้กฎหมายพิเศษ ตลาดการเงินระหว่างประเทศ ประกอบด้วย ตราสารหนีต่างประเทศ และ ตลาดหุ้นโลก ธนาคารกลาง หมายถึงสถาบันการเงิน ที่เป็นองค์การที่รัฐบาลรับผิดชอบและ ดาเนินการด้านการเงินของประเทศเมือ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจ โดยรวม ธนาคารกลาง มีหน้าที่ในการดำเนิน นโยบายการเงินเพื่อรักษาเสถียรภาพทาง เศรษฐกิ ษฐกิจให้อยู่ในภาวะที่เหมาะสมและส่งผล ให้ประชาชนอยู่ดีกินดี
ページ16:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ17:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ18:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ19:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ20:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ21:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ22:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ23:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ24:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ25:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ26:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ27:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ28:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ29:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ30:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ31:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ32:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ33:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ34:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ページ35:
OCR失敗: NoMethodError undefined method `first' for nil:NilClass
ความคิดเห็น
ล็อกอินเพื่อแสดงความคิดเห็นผลการค้นหาอื่น ๆ
สมุดโน้ตแนะนำ
ประวัติการเข้าดู
คำถามที่เกี่ยวข้องกับโน้ตสรุปนี้
มหาวิทยาลัย
เศรษฐศาสตร์
1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)
มหาวิทยาลัย
เศรษฐศาสตร์
พี่ๆคนไหนสามารถทำข้อนี้ได้บ้างคะ ช่วยหน่อยค่ะ
มหาวิทยาลัย
เศรษฐศาสตร์
คือเราต้องารสรุปเนื้อหาค่ะ ของความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ ขอบคุณค่ะ
มหาวิทยาลัย
เศรษฐศาสตร์
ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย
มหาวิทยาลัย
เศรษฐศาสตร์
ช่วยหน่อยค่ะหมดหนทางมากๆ
มหาวิทยาลัย
เศรษฐศาสตร์
วิชาเศรษฐศาสตร์ ช่วยอธิบายสองข้อนี้ให้หน่อยค่ะ ไม่ค่อยเข้าใจเลยค่ะ
มหาวิทยาลัย
เศรษฐศาสตร์
หาติวเตอร์ติว วิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ ค่ะ
มหาวิทยาลัย
เศรษฐศาสตร์
ช่วยสรุป แล้วก็ทำเป็นข้อๆให้หน่อยได้มั้ยคะ🙏🏻
มหาวิทยาลัย
เศรษฐศาสตร์
วิชาเศรษฐศาสตร์เบื่องต้น
มหาวิทยาลัย
เศรษฐศาสตร์
ช่วยทำแบบฝึกเศรษฐศาสตร์ หน่อยค่าบบบ
News
ช่วยสอนได้มั้ยคะ