ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยย่อหน่อยนะครับ

วิทยาศาสตร์ Science H. นิตยส -ใช้โทน ทาไงหลายต้ แวคิวโอล เยื่อหุ้มเซลล์ หนัง - เซลล์พืช เซลล์สัตว์ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ 1. ส่วนห่อหุ้มเซลล์ ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) และผนังเซลล์ (Cell wall) ซีล เฉพาะในเซลล์พืช 2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) 1. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ประกอบด้วย 1) เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) เซลล์ของ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีเยื่อหุ้มเซลล์หุ้มอยู่ภายนอก มีลักษณะ เป็นเยื่อบาง ๆ เหนียว ประกอบด้วยสารประเภทลิขิตและ โปรตีน เยื่อหุ้มเซลล์มีรูเล็ก ๆ สามารถจำกัดขนาดของสารที่ ผ่านเข้าออกได้ จึงมีสมบัติเป็น เยื่อเลือกผ่าน (Semipermeable membrane) ซึ่งสารขนาดเล็กผ่านได้ส่วนสารขนาดใหญ่ผ่านไม่ได้ 3. นิวเคลียส (Nucleus) เยื่อหุ้มเซลล์ หน้าที่ 1. ควบคุมปริมาณและชนิดของสารบางอย่างที่ผ่านเข้าออกจากเซลล์ เช่น น้ำ และสารละลายต่าง ๆ 2. แสดงขอบเขตของเซลล์และห่อหุ้มส่วนประกอบในเซลล์ 2) ผนังเซลล์ (Cell wall) มีเฉพาะในเซลล์พืช เป็นโครงสร้างที่อยู่ชั้นนอกสุดห่อหุ้มเยื่อหุ้มเซลล์อีกชั้นหนึ่ง เป็นผนังแข็งแรง ซึ่งส่วนใหญ่สร้างจากสารเซลลูโลส (Cellulose) เป็นส่วนที่ไม่มีชีวิต ทำให้เซลล์ทนทาน แข็งแรง แม้ว่าเซลล์ อาจตายไปแล้วก็ตาม และเป็นเนื้อเยื่อที่ยอมให้สารต่าง ๆ ผ่านเข้าและออกจากเซลล์ได้ หน้าที่ ทำให้เซลล์พืชแข็งแรงคงรูปและป้องกัน อันตรายให้กับเซลล์พืช อาหาร อากา 0 ผนังเซลล์ที่พบในคอร์กเซลล์ ซึ่งเป็นเซลล์ที่ไม่มีชีวิต 2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) เป็นส่วนที่อยู่ภายในเซลล์ทั้งหมดยกเว้นนิวเคลียส มีลักษณะกึ่งเหลว ส่วนใหญ่เป็นน้ำและมีสารที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต เช่น น้ำตาล กรดอะมิโน โปรตีน ไขมัน และของเสียต่าง ๆ จากกิจกรรมของเซลล์ละลายและแขวนลอยอยู่ ภายในไซโทพลาซึมมีโครงสร้างเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (Organelle) กระจายอยู่ทั่วไป มีหลายชนิดและแต่ละชนิดมีรูปร่าง ลักษณะ และหน้าที่แตกต่างกันในกระบวนการ ดำรงชีวิตของเซลล์ ศ บ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner
เคมี มัธยมปลาย

เรื่องค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี

H 2,1 แบบฝึกหัด คำสั่ง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. พิจารณาคาอิเล็กโทรเนกาติวิตในตารางธาตุที่กำหนดให้ Li 1.0 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อค่าอิเล็กโทรน 1) ขนาดอะตอม (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานต่างกัน) - อะตอมขนาดเล็ก - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 6 มีค่ามาก e เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดี จึงมีค่า EN สูง - อะตอมขนาดใหญ่ - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 8 มีค่าน้อย เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 8 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้แก่ จึงมีค่า EN ตัว 2) จำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานเท่ากัน) Na Me 0.9 1.2 Rb 0.8 K Ca 0.8 4.0 Cs 0.7 Be 1.5 Fr 0.7 - อะตอมของธาตุที่มีจำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (หรือจำนวนโปรตอน ที่มาก เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดีกว่า ธาตุนั้นจึงมีค่า EN สูง Sc 1.3 St Y Zr 1.0 1.2 14 Ti 1.5 Ba La-Lu HT 091-12 13 Ra Ac-No 0.9 1.1-1.7 N V 1.6 Cr 1.6 Nb Mo 1.6 1.8 Ta W 1.5 1.7 Min Fe 15 1.8 Tc 1.9 Re 1.9 ******* Ru 2.2 Os 2.2 Co 1.8 Rh Pd 2.2 2.2 Ir Ni 1.8 A PL 2.2 2.2 Cu 19 Ag 1.9 Au 2.4 Zn 1.6 B C 2.0 Hg 1.9 A[ 1.5 Ga 1.6 Cd In 1.7 1.7 TI 1.8 N 2.5 3.0 Si 1.8 Ge 1.8 P 2.2 Pb 1.8 As 2.0 0 35 Bi 1.9 Sn Sb Te 1.8 1.9 2.1 Se 2.4 จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1) จากข้อมูลด้านบน ธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวมากที่สุด และธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวน้อยที่สุด ตอบ............... F 4.0 S C Ar 25 3.0 Br 2.8 I 2.5 Po AL 2.0 2.2 2) นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดธาตุหมู่ 8A ส่วนใหญ่จึงไม่มีค่าอิเล็กโทรเนกาทีวี ยกเว้นธาตุจริปทอน (K) และธาตุซีนอน (Xe) ตอบ........... He Ne Kr 3.0 Xe 2.6 Rn …...…..…………

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/9