ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยผมด้ายขาบบ

1. ให้นักเรียนเติมคำตอบลงในช่องว่าง วัฏจักรบอร์น-ฮาร์เบอร์ ของ NaCl ให้ถูกต้องสมบูรณ์ (3 คะแนน) Na (g) + + Cl(g) + e พลังงาน + +Ž Cl, (g) + « +C 3 Na(g) + 2 Na(s) + → Cl2(g) 4 Na*(g) + 2. ให้นักเรียนเขียนสูตร อ่านชื่อสารประกอบไอออนิก และสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ให้ถูกต้องเป็นไปตามกฎออกเตต (อ่านชื่อเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษก็ได้) (8 คะแนน) ไอออน/ธาตุ เขียนสูตรของ คู่ร่วมพันธะ สารประกอบ Al3+ C 0 Na CL P Ca P Mg za N 2+ 2+ 0 p3- CL ci 0 0 ชื่อของสารประกอบ N2O3 Dinitrogen trioxide (ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์) ตัวอย่าง 3. จงเขียนสูตร VSEPR และรูปร่างของโมเลกุลโคเวเลนต์ ต่อไปนี้ (4 คะแนน) | โมเลกุลโคเวเลนต์ สูตร VSEPR NH4* PCl5 AB4 รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ Tetrahedral/ทรงสี่หน้า ตัวอย่าง BrF3 BF3 XeFa

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค้าบบ

24. อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก การกระจัดแสดงดังสมการ x = 2.0 cos 0.50 t + m 4 จงหา ก) อัตราเร็วสูงสุด ข) อัตราเร่งสูงสุด ค) อัตราเร็วของอนุภาคนี้เมื่อมีการกระจัด 1.0 m ง) อัตราเร่ง, พลังงานจลน์และพลังงานศักย์เมื่อวัตถุติดสปริงที่มีค่าคงตัว 10 N/m และมีการ กระจัด 1.0 m [Ans. ก. 1 m/s, ข. 0.5 m/s, ค. 0.87 m/s, ง. 0.25 m/s, 1.51 J, 5 J] 25. ลูกตุ้มนาฬิกาอันหนึ่งแกว่ง 100 รอบ ในเวลา 200 s ความเร่งสูงสุดในการเคลื่อนที่ของลูกตุ้มเป็น m/s การกระจัดสูงสุดในการแกว่งนี้มีค่าเท่าใด ในหน่วยเซนติเมตร L 20 [Ans. 5 cm] 26. ผูกมวล m ติดกับสปริงในแนวดิ่ง ดึงมวลลงเล็กน้อยแล้วปล่อยให้สั่น พบว่าสปริงมีคาบของการสั่น 2 วินาที ถ้าเพิ่มมวลเข้าไปอีก 2 กิโลกรัม สปริงจะมีคาบการสั่น 3 วินาที จงหาขนาดของมวล m ในหน่วย กิโลกรัม [Ans. 1.6 kg] 27. จงหาคาบการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาฟิสิกัล (Physical pendulum) แท่งไม้ตรงขนาดสม่ำเสมอ มวล m ยาว 1โดยแขวนไว้ที่ขอบของวัตถุ ดังรูป [Ans. 5.13 g

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่ใยหน่อยได้ไหมครับ

= 16. อนุภาค m = 2 kg, m, = 3 kg, m, = 4 kg, และ m = 5 kg อยู่ที่มุมของโครงลวดเบารูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 3 m x 4 m ดังรูป จงหาโมเมนต์ความเฉื่อย / รอบแกน 4 m, = 2 kg 3 m m, = 3 kg 53° A [Ans. 40.32 kg.m?] m3 = 4 kg 37° 4 m m₁ = 5 kg 17. ปล่อยทรงกลมต้นรัศมี 3 cm มวล 1 kg ให้กลิ้งลงมาตามพื้นเอียง จงหาความเร็วของทรงกลมตันนี้เมื่อ เคลื่อนที่ลงมาต่ำกว่าตำแหน่งที่ปล่อย I = MR2) 5 4 m (กำหนดให้ โมเมนต์ความเฉื่อยของทรงกลมตัน คือ (กำหนดให้ g = 10 m/s) [Ans. 7.56] 4 m E- 18. ทรงกระบอกต้นรัศมี 1 cm มวล 0.04 kg กลิ้งลงมาตามพื้นเอียง ถ้าตอนเริ่มต้นทรงกระบอกตันเคลื่อนที่ ด้วยอัตราเร็ว 0.5 m/s จงหาอัตราเร็วของทรงกระบอกตันนี้เมื่อเคลื่อนที่ลงมาต่ำกว่าระดับเดิม 15 cm กำหนดให้ โมเมนต์ความเฉื่อยของทรงกระบอกตันคือ 1 = - MR2 (กำหนดให้ g = 10 m/s) - 2 15 cm 0.5 m/s [Ans. 0.75 m/s]

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

บอกหน่อยค่ะ ทำยังไง🥹🥹🥹

ใบกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่ 3.5 การทดลองวัดขนาดของสิ่งของ จุดประสงค์ เลือกเครื่องมือวัดได้เหมาะสมกับสิ่งที่วัด และบันทึกผลการวัดได้ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทดลองเครื่องมือวัด 1. ไม้โปรแทรกเตอร์ 2. ไม้บรรทัด 3. ตลับเมตร 2. โต๊ะครู 3. หนังสือเรียน วิธีปฏิบัติกิจกรรม สิ่งของที่ต้องวัด 1. โต๊ะเรียน 1. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ให้ตัวแทนกลุ่มออกมาจับสลากเพื่อเลือก สิ่งที่วัดกลุ่มละ 1 รายการ 2. ใช้ไม้บรรทัดวัดความกว้าง ความยาวของสิ่งของที่จับสลากได้โดยใช้หน่วยวัดเป็นเซนติเมตร บันทึกผลการวัดลงในตารางบันทึกผล ทำการทดลองซ้ำ 3 ครั้ง หาค่าเฉลี่ย และคำนวณหาพื้นที่ 3. ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่เปลี่ยนเครื่องมือวัดเป็น ไม้โปรแทรกเตอร์ และ ตลับเมตร ตารางบันทึกผลการทดลอง สิ่งที่วัด คือ เครื่องมือวัด ด้านที่วัด ครั้งที 1 (cm) ไม้บรรทัด กว้าง ยาว ไม้โปรแทรกเตอร์ กว้าง ตลับเมตร ยาว กว้าง ยาว สรุปผลการทดลอง จำนวนครั้งที่วัด ครั้งที่ 2 (cm) - ค่าเฉลี่ย พื้นที่เฉลี่ย ครั้งที่ 3 | (cm) กว้าง X ยาว (cm) (m³)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

หายังไงคะ

การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล การทำให้ปริมาณสารต่างๆ ในภาวะสมดุลซึ่งแต่เดิมคงที่ให้มีปริมาณเปลี่ยนไป ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลมี 3 ปัจจัย คือ 1. ความเข้มข้น 2. ความดันหรือปริมาตร 3. อุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุลจะเป็นไปตามหลักของ “ เลอร์ซาเตอรีเยร์ " ซึ่งกล่าวว่า “ระบบใดก็ตามที่เข้าสู่ภาวะสมดุล หากระบบถูกระกวนด้วยภาวะต่างๆ (ความเข้มข้น อุณหภูมิ หรือ ความดัน) จะทำให้ระบบที่เข้าสู่สมดุลนั้นเสียไป แต่ระบบจะพยายามปรับสภาวะให้เข้าสู่สมดุลอีกครั้ง แต่จะ ไม่เหมือนสมดุลครั้งแรก” 1.1. ความเข้มข้น การลดหรือเพิ่มความเข้มข้นของสารในสภาวะสมดุล จะทำให้สภาวะสมดุลของ ปฏิกิริยาเปลี่ยนไป โดยระบบจะต้องมีการปรับตัวให้กลับสู่ภาวะสมดุลเดิม - กรณี เพิ่มความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางที่ตรงกันข้ามกับสารที่เติมลงไป - กรณี ลด ความเข้มข้น สมดุลจะเลื่อนไปในทิศทางเดียวกับสารที่เติมลงไป ตัวอย่าง1 จากปฏิกิริยา Fe (aq) + Ag (aq) 1) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Fe (aq) + Ag(s) Ag Fe3+ Ag................ 2) เมื่อ เติม Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe3+ Ag.. 3) เมื่อ เติม Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe Ag... 2+ 4) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe Ag Fe3+ Ag............. 5) เมื่อ ลด Ag สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe 2+ Ag Fe Ag... 6) เมื่อ ลด Fe สมดุลจะเลื่อนไปทาง ปริมาณ Fe 3+ Ag Fe Ag...

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/437