ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะฮือ🙏🏼💖

แนวนอน 5. โครงสร้างที่พบในเซลล์สัตว์ ประกอบด้วยไมโครทูบูลเป็นแกนของเซนโทรโซม 8. ถุงที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น สร้างมาจากกอลจิคอมเพล็กซ์ มีเอนไซม์สำหรับย่อยสลายสารภายในเซลล์ 10. สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีเยื่อหุ้มล้อมรอบสารพันธุกรรมและไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 14. กระบวนการนำสารที่ไม่ละลายน้ำเข้าสู่เซลล์ โดยการยื่นส่วนของเยื่อหุ้มเซลล์ออกไปหุ้ม 16. โครงสร้างที่ประกอบด้วย DNA และโปรตีนเป็นเส้นที่ขดตัวหนาเห็นได้ชัดเจนในระยะแบ่งเซลล์ เมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ 17. โครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกัน ขนาดเท่ากัน ตำแหน่งเซนโทรเมียร์ตรงกันและมียีนที่ควบคุม ลักษณะเดียวกันมีตำแหน่งตรงกัน เรียกว่า .. chromosome สส 19. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูกมีจำนวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง 20. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กภายในเซลล์ ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีน ๕ส่ 0 ๆ นฯ ข แนวตั้ง 1. ออร์แกเนลล์ที่พบในเซลล์พืชที่บรรจุคลอโรฟิลล์ซึ่งใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง 2. ส่วนของโครโมโซมเดิมและโครโมโซมใหม่ที่สร้างขึ้นจากการจำลอง DNA ในระยะอินเตอร์เฟส ยึดติดกันตรงตำแหน่งเซนโทรเมียร์ 3. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูก 2 เซลล์มีจำนวนโครโมโซมเท่าเดิม 4. โครงสร้างของเซลล์ที่เป็นเส้นใยสปินเดิล 6. การเคลื่อนที่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่ำไปยังบริเวณที่มี ความเข้มข้นของสารละลายสูง 7. กระบวนการที่เวสิเคิลภายในเซลล์เคลื่อนที่ไปรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์เพื่อหลั่งสารออกนอกเซลล์ 9. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ทำหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ ภายในมี DNA 11. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ มีนิวเคลียสและมีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 12. บริเวณที่ sister chromatids แนบชิดกัน และเป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับการยึดติดของเส้นใย สปินเดิลในระยะแบ่งเซลล์ 13. ส่วนประกอบของเซลล์ที่มีโครโมโซมอยู่ภายใน ทำหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์ 15. ส่วนที่เป็นของเหลวภายในเซลล์ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ การเคลื่อนที่ของตัวถูกละลายจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายสูงไปยังบริเวณที่มีความ เข้มข้นของสารละลายต่ำกว่า จัดทำโดย สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

การที่กระเพาะผลิตน้ำย่อยออกมาในรูป proenzyme มันเป็นกลไกในการป้องกันการย่อยตัวเองยังไงหรอคะ (ในข้อ 1) เเล้วทำไมต้องผลิตเมือกเป็น glycopro... อ่านต่อ

กับ ๒6อรไตอชูธตู ซึงอยู่แนรูป ว0อก2ทอ ค่อยงท่างาน ไม่ได้ จนกว่าจะถูกกระตุ้นด้วย 1101 เสียก่อน ได้เป็น 1อถก คับ อ6รไต ตามลําดับ อาหารภายในกระเพาะ มีลักษณะเละๆและเป็นกรด เรียกว่า ๕๒ขาธ6 @ กระเพาะมี ๒๒ ตั๊" คือมีความเป็นกรดสูจี เอนไซม์ใน กระเพาะทํางานได้ดีในช่วง ๒โว นี้ แบคทีเรียจากอาหาร ก็ตายด้วย บ1 นี้ แต่ร่างกายเรามีกลไกป้องกันน้้าย่อย ย่อยตัวเราเอง คือ 1. ผลิตน้าย่อยออกมาในรูป ๒506ถ2ห6 2. สร้างเมือกที่เป็นสารจําพวก ฮู19๐001016[5 และ มีฤทธิ์เป็นเบสปกคลุมกระเพาะ 3. สร้างเซลล์ใหม่ขึ้นมาทดแทนบ่อยมากๆ ” เข้าสู่ลําไส้เล็ก กลไกการกลืนกิน 1 : เพดานอ่อนดันขึ้น 2 : ฝาปิดกล่องเสียง% 3 : กล่องเสียงยกขึ้น 4 : หูรูดหลอดอาหาร 5 : มธีเรไลไรเร 8: สารจากกระเพาะ1 4. เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ผนังกระเพาะจะไม่ยอมให้ 1301 ผ่านเข้าไปได้

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
PromotionBanner
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ต้องตอบว่าอะไรบ้างคะ😭🙏🏻 คือในนส.เค้าไม่มีเฉลยมาให้ค่ะ อธิบายด้วยก็ได้ค่ะ🙏🏻🙏🏻🙏🏻

3.เอ่อหุ้มนิวเคลียส เป็นยือบง 4 7 .. เล เโดพลาสมิก กอลจิบอดี และ ะไมโทคอนเดรีย มีหน้าที่ค และมีทางติดต่อกับร่างแหเอน .การแลกเปลี่ยนสารและเป็นทางผ่านของสารต่าง ๆ รัะหว่า อ ส่วนประกอบใดที่ยอมให้สารโมเลกุลเล็กผ่าน แต่ไม่ยอมให้สารโมเลกุลใหญ่ผ่าน @๑อ ส่วนประกอบใดมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน @อ เปลือกกุ้งหรือกระดองปูเปรียบเสมือนสิ่งใดของเซลล์พืช .@ เซลล์ที่ต้องใช้พลังงานมาก ควรมีส่วนประกอบชนิดใดมากเป็นพิเศษ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 2