ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ภาษาอังกฤษ มัธยมปลาย

อ่านแล้วตอบคำถามช่วยหน่อยค่ะ

Dinosaur Fossils In the past century, one of the most amazing findings by scientists has been dinosaur bones. Dinosaur bones also called fossils are the remains of old dinosaur skeletons. Sometimes scientists who discover dinosaur fossils just find footprints in the dirt. Other times, they find enough fossils to make a complete dinosaur. But how do dinosaur bones that are millions of years old get turned into fossils? How can something buried beneath dirt and sand last for so long? Fossil Formation When dinosaurs or other ancient animal or plant life dies, a gradual process begins. (A) Then the dead dinosaur is eventually covered by dirt and mud. (B) This leaves the hardest parts of the dinosaur- bones and teeth. (C) After thousands of years, the chemicals in the buried dinosaur's body go through a series of changes. (D) As the bone slowly decays, groundwater gets inside the bone. The minerals in the groundwater are replaced with the chemicals in the bone. These minerals are the same as the surrounding rock. As the dinosaur bone turns into a fossil, it becomes a heavy, rock-like version of the original dinosaur. It is now officially called a fossil. When scientists look for dinosaur fossils, they look for specific rock types. Fossils are usually found in either shale, siltstone, mudstone, or sandstone. Preservation (E) Preservation is an important word when studying fossils. (F) It means to keep something in the same condition for a long time. (G) One of the best examples of dinosaur fossils is in the Field Museum in Chicago. (H) The Tyrannosaurus Rex (or T-Rex) was the fiercest and largest dinosaur on the planet. It was a carnivore, or meat eater. T-Rex liked to eat smaller dinosaurs for dinner, using its powerful jaws to crush its victims. The skeleton of Sue was discovered in the dry plains of South Dakota in 1990 by Sue Henderson, a scientist. By studying prehistoric fossils, we can learn about life millions of years ago.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ วิชาเคมีพื้นฐาน

763 15 ก.ย. 61 /ยอมแก่ อบ Unit Question คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงเขียนสมการเคมีเพื่อแสดงปฏิกิริยาระหว่างสารต่อไปนี้ ก. โซเดียมไทโอซัลเฟตกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ข. แมกนีเซียมกับน้ำ 2. ลักษณะการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ต่อไปนี้ การเปลี่ยนแปลงใดบ้างเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี . การสุกของผลไม้ น้ำระเหยกลายเป็นไอ น้ำเดือด การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช • การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร • การเกิดสนิมเหล็ก 3. จงยกตัวอย่างสิ่งของหรือสารต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีมาอย่างน้อย 10 ชนิด 4. ตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีคืออะไร นำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร 5. จงเขียนแสดงปฏิกิริยารีดอกซ์ เมื่อกำหนดครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชัน ดังนี้ ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ Zn(s) Zn2+(aq) + + 2e ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน คือ Cu (aq) + 2e → Cu(s) 6. ปฏิกิริยาต่อไปนี้ เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ หรือปฏิกิริยานอนรีดอกซ์ n. LiAlH + 4H* → Li* + Al³+ + 4H₂ ข. TiCl + 2H S - TiS2 + 4HCl HgS + Hg + 2H* 2+ ค. Hg, + H,S 7) ธาตุกัมมันตรังสี Z ปริมาณ 120 กรัม ใช้เวลา 60 วัน ในการสลายตัวเหลือ 7.5 กรัม นักเรียนคิดว่าธาตุกัมมันตรังสี Z มีครึ่งชีวิตเท่ากับกี่วัน 8.1 ซากไม้โบราณชิ้นหนึ่งมีอัตราการสลายตัวของ C-14 ลดลงเหลือ 4 เท่าของปริมาณเดิม ขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ ถ้า C-14 มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5,730 ปี ซากไม้โบราณชิ้นนี้จะมีอายุ ประมาณกี่ปี 136 A

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ครูค่ะช่วยหน่วยค่าา

หน้า 93 เรื่อง แบบจำลองอะตอมดอลตัน ใบงาน วิชาเคมี ชั้น ม.4 บทที่ 2 อะตอมและสมบัติของธาตุ แนวคิดในการพัฒนาแบบจำลองอะตอม คำชี้แจง : จงตอบคำถามในข้อต่อไปนี้ ชื่อ เลาที คำชี้แจง : ตอบคำ หลังก 1. หน่วยย่อยที่เล็กที่สุดของสาร เมื่อถูกแบ่งให้มีขนาดเล็กลงไปเรื่อย ๆ จนไม่สามารถแบ่งย่อยให้เล็กต่อไปได้อีก ตามแนวของดีโมคริส นักปราชญ์ชาวกรีกนั้น เรียกว่าอะไร มีที่มาจากคำใดของภาษากรีก และคำนั้นมีความหมาย ว่าอย่างไร ตอบ ของดอลตัน ให้นักเรี ปัจจุบันไม่ได้รับการ ข้อที่ 1 ในปัจจุบัน เพราะ ข้อที่ 2 ในบ้า เพราะ 2. นักวิทยาศาสตร์มีวิธีการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าได้อย่างไร ตอบ 3. แบบจำลองอะตอม (atom model) คืออะไร ตอบ การเปลี่ยนแปลง มา 4 ของ ลาก่อน และผลงานมากม 4. แบบจำลองอะตอม สามารถเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ อย่างไร ตอบ แบบจําลองอะตอมของดอลตัน ในปี ค.ศ. 1803 จอห์น ดอลตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้รวบรวมแนวคิดและทฤษฎีของ วิทยาศาสตร์ในยุคนั้น แล้วเสนอ “ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน” ซึ่งมีสาระสำคัญดังนี้ 1) ธาตุประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ เรียกว่า อะตอม ซึ่งทำให้สูญหายและแบ่งแยกต่อไปอีกไม่ได้ 2) อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกัน และแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น 3) สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุมากกว่า 1 ชนิดทำปฏิกิริยาเคมีกันในอัตราส่วน น ดอลตัน (John Dalton) ที่เป็นเลขลงตัวน้อย ๆ ๆ จอห์น ดอลตัน ได้เสนอแบบจำลองอะตอมว่า “อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลมกัน มีขนาดเล็กมากและไม่สามารถแบ่งแยกลงไปได้อีก ข้อที่ 3 เพราะ ...

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

วิชาวิทย์ ม.ปลาย ค่ะ มีใครทำได้ไหมคะคือวันนี้เราไม่มาแล้วครูสั่งให้ส่งวันนี้😭😭 กราบขอบคุณล่วงหน้าค่ะ

2. จงตอบคําถามต่อไปนี้ 2.1 กระบวนการสลายตัวของ นิวเคลียร์ของการสลายตัวนี้ 232 Th จะมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา จงเขียนแสดงสมการ 90 140 2. กระบวนการสลายตัวของ 57 นิวเคลียร์ของการสลายตัว La จะมีการปล่อยอนุภาคบีตา 4 ตัว จงเขียนแสดงสมการ 226 89 3. กระบวนการสลายตัวของ AC จะมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา 6 ตัว และปล่อยอนุภาคบีตา 4 ตัว การสลายตัวนี้จะได้ธาตุใด 236 228 4. กระบวนการสลายตัวของ U ได้ผลิตภัณฑ์ 92 Ra จะมีอนุภาคแอลฟาเกิดขึ้นที่อนุภาค 88

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะไม่เข้าใจ

A ร กิจกรรม ผลของอุณหภูมิ ตสภาพละสายไม้ของสาร จุดประสงค์ - เพื่อทดสอบผลการละลายของสารที่อุณหภูมิต่าง ๆ วัสดุอุปกรณ์ 1. บีกเกอร์ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน 3 ใบ 2. ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กันลม 3. สารเคมีต่าง ๆ ได้แก่ น้ำกลั่น เอทิลแอลกอฮอล์ เกลือ น้ำตาลทราย และคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต ปฏิบั 4. กระบอกตวง 5. แท่งแก้วคนสาร 6. น้ำแข็ง - - การจาแนกประ - การกำหนดและควบคุมตัวแบ - การลดความเห็นจากข้อมูล จิตวิทยาศาสตร์ - ความสนใจ ความมีเหตุผล ช้าสวร 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ออกแบบการทดลองเกี่ยวกับผลของอุณหภูมิต่อสภาพละลายได้ของสาร โดยใช้วัส อุปกรณ์ และสารเคมีที่กำหนดให้ โดยแผนการทดลองมีองค์ประกอบ ดังนี้ - ปัญหา - สมมติฐาน - ตัวแปรต้นและตัวแปรตาม - สารเคมีและอุปกรณ์ที่ใช้ - วิธีการทดลอง - ตารางบันทึกผล 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแผนการทดลองที่ร่วมกันออกแบบไว้ แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อตรวจสอบความถูกต้อ แผนการทดลอง และปรับปรุงแผนการทดลองให้ถูกต้องเหมาะสม 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการทดลองตามที่ออกแบบไว้ 4. ให้นักเรียนและกลุ่มนำเสนอผลการทดลอง คำถามท้ายกิจกรรม 1. นักเรียนเลือกสารใดเป็นตัวทำละลายและตัวละลาย เพราะเหตุใด - เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลง การละลายของตัวละลายในตัวทำละลายเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร อุณหภูมิมีผลต่อสภาพละลายได้ของสารหรือไม่ อย่างไร อภิปรายผลกิจกรรม จากกิจกรรม พบว่า อุณหภูมิมีผลต่อสภาพละลายได้ของสาร ซึ่งเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ตัวละลายจะละลายในตัวท ขึ้น แต่เมื่ออุณหภูมิลดลง ตัวละลายจะละลายในตัวทำละลายได้น้อยลง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/63