ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เคมี มหาวิทยาลัย

เรื่องจลนศาสตร์เคมี

ข้อสอบเรื่องจลนศาสตร์เคมี 1) ปฏิกิริยาระหว่าง diethylhydrazine และ iodine เกิดปฏิกิริยาดังนี้ (C2H5)2(NH)2 (l) ) + I2 (aq) → (C₂H5)2(N₂ (l) ) + 2HI (aq) เมื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของปฏิกิริยานี้โดยศึกษาการจางลงของสีม่วงของสาร I ที่อุณหภูมิ 25 °C การศึกษาดังแสดงในตารางดังนี้ (6 คะแนน) การทดลองครั้งที [(C2H5)2(NH)2] M [12], M อัตราการเกิดปฏิกิริยา, Ms 1 1 0.150 0.250 1.08 x 10 4 2 0.150 0.362 1.56 x 10 4 3 0.200 0.400 2.30 x 10 4 4 0.300 0.400 3.44 x 10 4 1.1) จงคำนวณหาอันดับของปฏิกิริยา เมื่อเทียบกับ (C2Hs) (NH), และเมื่อเทียบกับ 12 และคำนวณหา อันดับรวมของปฏิกิริยา (overall order) 1.2) จากอันดับของปฏิกิริยาที่คำนวณได้ จงเขียนกฎอัตรา (rate law) ของปฏิกิริยานี้ 1.3) จงคำนวณค่าคงที่อัตราของปฏิกิริยา (k : rate constant) ที่อุณหภูมิ 25 °C พร้อมทั้งระบุหน่วย = = 1.4) จากการคำนวณข้อ 1.1 - 1.3 ถ้าทำการทดลองโดยใช้ [(C2H5) (NH)2] มีค่า = 0.500 M และ _ [I2] = 0.900 M จงคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ ซึ่งได้ข้อมูล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

เหลืออยู่แค่ 2 หน้านี้ ไม่เข้าใจว่าทำยังไง ช่วยหน่อยได้ไหมคะ ต้องส่งภายในวันนี้ TT

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี 1 (231122) บทที่ 3 หน้า 34 1.3 SB 1.5 C3H4 1. จงเขียนสูตรแบบจุด และแบบเส้นแสดงพันธะโคเวเลนต์ของสารต่อไปนี้ ตามกฎออกเดต สูตรสารประกอบโคเวเลนต์ 1.1 Br2 1.2 CS2 1.4 C2H6 เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาเคมี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 3 (231122) ใบงานที่ 10 เรื่อง การเขียนสูตรและอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรังสิต สูตรแบบจุด โดยอนุโลมว่าการรวมตัวเป็นไป สูตรแบบเส้น 20 2 เขียนสูตรโมเลกุล สูตรแบบจุด และสูตรแบบเส้นของสารประกอบระหว่างธาตุต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล สูตรแบบจุด ธาตุ 21 ไฮโดรเจน กับซีลีเนียม 22 ไอโอดีน กับอาร์เซนิก 2.3 ไนโตรเจน กับคลอรีน 24 ซิลิคอน กับไฮโดรเจน 2.5 ออกซิเจน กับคลอรีน 2.6 โบรอน กับฟลูออรีน 3. ธาตุใดต่อไปนี้ทำปฏิกิริยากันแล้วได้สารประกอบโคเวเลนต์ ก. โซเดียวกับออกซิเจน ข. ซิลิคอนกับออกซิเจน XX เหล็กกับคลอรีน ง. คลอรีนกับโบรมีน จ. คาร์บอนกับกำมะถัน หนา 35 สูตรแบบเส้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/61