ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

wa3โทส. 10. เป็นน้ำตาลที่ถูกน้าลายและน้าย่อยในกระเพาะอาหารจะได้กลูโคส 2 โมเลกุล ใบงานเรื่อง กรดนิวคลีอิก 1. กรดนิวคลีอิก มีหน้าที่อย่างไร และพบที่ส่วนใดของเซลล์ 2. กรดนิวคลีอิก มีกี่ประเภท อะไรบ้าง 3. หน่วยย่อยของกรดนิวคลีอิก คือ 4. นิวคลีโอไทด์ 1 โมเลกุล ประกอบด้วยโครงสร้างใดบ้าง 5. การเรียงต่อกันของนิวคลีโอไทด์แต่ละโมเลกุลเป็นสายยาว เรียกว่า 6. พันธะเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างนิวคลีโอไทด์แต่ละโมเลกุล คือ 7. จงอธิบายโครงสร้างของ DNA ตามความเข้าใจของนักเรียน 8. DNA และ RNA แตกต่างกันอย่างไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ถ้าใครรู้ช่วยหน่อยนะคะ

ัด เกียวกับพันชะไอออนิก จงยืดเครื่องหมาย ,/ หน้าข้อที่ถูกค้อง เครื่องหมาย /(หน้าข้อที่ไม่ถูกต้อง 1 สารที่ละลายนําแล้วนําไฟฟ้าได้ ส่วนใหญ่เป็นสารประกอบไยยอนิก การเกิดสารประกอบไอออนึกจะเป็นปฏิกิริยาคูตความร้อน - 4. และ 9 มีเวเลนซ์อิเด็กตรอน 3 และ 7 ตาใสําคับสูตรของสารประกอบ /. 3 คือ 4 8 4 และ 3 อยู่หมู่ | และ 7 ตามลําดับ เมื่อรวมเป็นสารประกอบจะมีสูตรเป็น 633 ซึ่งมีจุดหลอมเหลวสูง ละลายน้้าได้ดี และนําไฟฟ้าได้คี เณง0ง@ --” ไอ(ญ่ +เผู(๑ 21ร = 30 1ม่/เทล ถ้านํา 4 รู กรัม มาละณายในน้า 50 ๓ม อุณหภูมิของสารละลายสูงขึ้น 370 ถ้าเพิ่มสาร ค เป็น .2 กรับ , สมการไอออนิกของสารละลาย วอ ธ์0, กับ 0801 คือ ง๐5 +ข0 ---» ๐0), 10 สารประกอบไยอยนิกเถถียรมาก เพราะนี่แรงดึงดูดไฟฟ้าสติดระหว่างไออยนต่างชนิดกัน -

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยตอบหน่อยจ้า

จงพิจารณาว่าข้อใดถูกหรือข้อใดผิด พต พ การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะต้องมีการสลายพันธะเดิมก่อนแล้วจึงสราง พันธะใหม่ขึ้น 5 ต เดล๕ 5 0 การชนในทิศทางที่เหมาะสมจะช่วยให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เพิ่มมากขึ้น พลังงานที่มากที่สุดสําหรับปฏิกิริยาเคมีใดๆ เรียกว่า พลังงาน ก่อกัมมันต์ แม้พลังงานของการชนนัอยกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ก็สามารถเกิด ปฏิกิริยาเคมีได้ 5. ปฏิกิริยาใดที่มีค่าพลังงานก่อกัมมันต์ตําจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมีมากกว่าปฏิกิริยาที่มีค่าพลังงานก่อกัมมันต์สูง 6. ปฏิกิริยาต่างชนิดกัน ค่าพลังงานก่อกัมมันต์จะเหมือนกัน 7. ความเข้มขันของสารจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 8. สารที่มีโครงสร้างสลับขับซ้อนจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีมากกว่า ซ่ ล, ซู สารที่มีโครงสร้างอย่างง่าย 9. การสลายพันธะไอออนิกจะต้องใช้พลังงานมากกว่าการสลายพันธะ โควาเสนต์ การเพิ่มปริมาตรของสารทําให้โอกาสการชนของอนุภาคลดน้อยลง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะแปรผกผันกับความเข้มขันของสาร การเพิ่มความเข้มขันจะทําให้โอกาสการชนกันของอนุภาคเพิ่มมากขึ้น 2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะแปรผกผันกับอุณหภูมิ การเพิ่มอุณหภูมิจะทําให้ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาลดลง การลดอุณหภูมิทําให้โมเลกุสมีพลังงานจลน์ลดลง 7 อัตราการเกิดปฏิกิริยาของแผ่นโลหะแมกนีเซียมมากกว่าแท่งโลหะ แมกนีเซียม (เมื่อให้โลหะแมกนีเซียมมีปริมาตรเท่ากัน) สารที่มีพื้นที่ผิวมากจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีมากกว่าสารที่มี พื้นที่ผิวน้อย . สาวที่มีพื้นที่ผิวมากจะมีค่าพลังงานถ่อกัมมันต์น้อยกว่าสารที่มีพืนที ผิวน้อยกว่า " 19.. ตัวเร่งปฏิกิริยา (0ล๒ฝ950) ทําหน้าที่เพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี . โตยลดค่าพลังงานก่อกัมมันต์ลง : .20. น ทําให้พลังงานจสน์ของอนุภาคเพิ่มมากขึ้น 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0