ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะ🥺

ะ 2. จงอธิบายการเคลื่อนที่ใน 1 มิติ ทั้งแบบแนวราบและแนวดิ่ง พร้อมทั้งวิเคราะห์ถึงความคล้ายคลึงกัน และ สิ่งที่แตกต่างกัน (10 คะแนน) 3. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบในแนวเส้นตรงด้วยความเร่งคงที่ โดยที่เวลา 1 วินาที วัตถุมี ความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที และที่เวลา 6 วินาที วัดความเร็วของวัตถุได้ 6 เมตรต่อวินาที จงหา (10 คะแนน) ก. ความเร่งของวัตถุนี้ ข. แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ 4. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นลื่น ถูกดึงด้วยแรง 20 นิวตัน ในทิศทำมุม 60 องศากับแนวระดับ ทำให้ เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1 เมตรต่อวินาที (10 คะแนน) ะ ก. จงวาดรูปเหตุการณ์นี้ พร้อมทั้งแสดงข้อมูล (label) ที่เกี่ยวข้อง ข. จงหากำลังที่ใช้ดึงนั้น ะ 5. น้ำนมบรรจุกล่องมีปริมาตร 250 cm มีมวล 0.275 kg ซึ่งนมนี้มีไขมันอยู่ 4% โดยปริมาตร ถ้าไขมันมี ความหนาแน่น 865 kg/m จงหาความหนาแน่นของน้ำนมที่ไม่มีไขมัน (10 คะแนน) 6. ลวดโลหะยาว 1 เมตร มีพื้นที่หน้าตัด 0.5 ตารางเซนติเมตร เมื่อถ่วงด้วยน้ำหนัก 1,000 นิวตัน จะยืด ออกไป 1 เซนติเมตร โลหะนี้มีค่ามอดูลัสของยังเท่าไร (10 คะแนน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยแสดงวิธีทำแบบละเอียดตั้งแต่วาดรูปเลยค่ะ

ข้อที่ 1 ยุคนี้เป็นยุคที่เหล็กมีราคาแพง ในภาพรวมราคาเหล็กขึ้นจากเดือนสิงหาคมปีที่แล้วกว่า 70% การออกแบบโครงถักนี้ จะช่วยลดต้นทุนเหล็กได้ จงคำนวณปริมาตรเหล็กทุกชิ้นส่วนในโครงถักในหน่วยลูกบาศก์เมตร เพื่อการออกแบบที่ประหยัดเหล็กที่สุด สำหรับ การออกแบบโครงถักที่ใช้เป็นโครงสร้างคานยาว 24 m รับภาระหนัก 100KN ซึ่งห้อยอยู่บนลวดสลิงที่ปลายด้านขวา ส่วน รองรับทางด้านซ้ายของโครงสร้างนี้ด้านบนเป็นส่วนรองรับแบบธรรมดา และด้านล่างเป็นล้อเหล็ก ส่วนรองรับทั้งสองห่างกัน 3 เมตร การออกแบบให้แนวแกนของชิ้นส่วนอยู่ในหรือบนกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้า 24m x 3m 3 m 24 m 100 kN ข้อกำหนดในการออกแบบ 1. เหล็กกล้าที่ใช้ทำชิ้นส่วนรับภาระดึงและกดได้ไม่เกิน 200 N ต่อตารางมิลลิเมตร 2. ใช้เหล็กกล้าจากเหล็กแผ่นหนา 10 mm มาตัดเป็นโครงถัก (หมายความว่าเราสามารถเอาเหล็กแผ่นมาประกบกันหนา 10, 20, 30, -. mm ได้ด้วยการใช้หมุดยึด เหมือนเอาไม้ไอติมมาทากาวซ้อนกัน) ส่วนความความยาวตัดได้ไม่จำกัดขนาด 3. กำหนดให้หน้าตัดของโครงถักเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 4. ชิ้นส่วนที่รับแรงกด นอกจากไม่เกิน 200 N ต่อตารางมิลลิเมตรแล้ว ยังต้องมีแรงกดไม่เกินภาระโก่งเดาะ (Buckling load, P.) ให้จินตนาการว่าเรากำลังกดปลายไม้โปรแทรกเตอร์ด้วยนิ้วมือขวาและซ้าย เมื่อออกแรงกดถึงค่าหนึ่ง ไม้โปรฯ จะโก่ง ตัวเอง แรงกดค่านี้เรียกว่าภาระโก่งเดาะ สำหรับสูตรหาภาระโก่งเดาะหน้าตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสปลายหมุดลื่นในหน่วยนิวตันเป็น r' (200 x10*)(b* /12) P, = เมื่อ b คือความยาวด้านของหน้าตัดชิ้นส่วนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสในหน่วย m เ คือความยาวของชิ้นส่วนในหน่วย m หมายความว่าถ้าภาระกดในชิ้นส่วนเกินภาระโก่งเดาะ โครงสร้างจะเสียหาย เราจะต้องเพิ่มพื้นที่หน้าตัดของคานจนภาระกดนี้ น้อยกว่าภาระโก่งเดาะ การออกแบบโครงสร้างจึงนำไปใช้ได้ นักศึกษาสามารถออกแบบมากกว่า 1 โครงสร้าง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/2