ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอจะช่วยอธิบายได้มั้ยคะเกี่ยวกับการหาGDP ของครอบครัว งงมากๆค่ะในหนังสือที่อจ สอนมีแต่GDP ของประเทศค่ะ 😿

การบ้าน 1 ครอบครัวหนึ่งมีลูก 3 คน รวมทั้งหมด 5 คน ปลูกผักขายได้ผักทั้งหมดเดือนละ 200 กก. โดยขาย ราคากก.ละ 20 บาท 1. GDP ของครอบครัวนี้เท่ากับกี่บาท 2. ถ้าครอบครัวนี้แบ่งเนื้อที่ส่วนหนึ่งให้คนข้างนอกมาเช่าปลูกมะนาวโดยมะนาวปลูกได้ ทั้งหมดเดือนละ 50 กก. ขายราคากก.ละ 10 บาท GDP ของครอบครัวนี้เท่ากับกี่บาท 3. ต่อมาลูกคนโตเรียนจบไม่ได้ช่วยงานที่บ้านไปทำงานเอกชนมีรายได้เดือนละ 15,000 บาท และได้โอนเงินมาให้แม่เดือนละ 2,000บาท GNP ของครอบครัวนี้เท่ากับกี่บาท 4. ถ้า GDP โตเพิ่มขึ้นเท่ากับ 3 % แสดงว่า GDP ของครอบครัวนี้เท่ากับกี่บาท

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุป แล้วก็ทำเป็นข้อๆให้หน่อยได้มั้ยคะ🙏🏻

dtac-T.Better Together 13:36 บทบัญญัติที่ 4 : คนตอบสนอ cdn.fbsbx.com 4 44%E เรียบร้อย สนองต่อสิ่งจูงใจ เนื่องจากคนตัดสินใจโดยเปรียบเทียบต้นทุนและผลประโยชน์ ดังนั้น พฤติกรรมของคนจึงเปลี่ยนเมื่อ โครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์เปลี่ยนไป นั่นคือ คนตอบสนองต่อสิ่งจูงใจ นั่นเอง เมื่อราคาแอปเปิลสูงขึ้น คนก็ตัดสินใจซื้อลูกแพร์มากขึ้น ซื้อแอปเปิลน้อยลง เพราะต้นทุนในการได้มาซึ่งแอปเปิลสูงขึ้น ใน ขณะเดียวกัน ชาวสวนแอปเปิลตัดสินใจจ้างคนงานมากขึ้น และปลูกแอปเปิลมากขึ้น เนื่องจาก ผลประโยชน์ จากการขายแอปเปิลสูงขึ้น บทบาทหลักของสิ่งจูงใจในการกำหนดพฤติกรรมมีความสำคัญสำหรับการออกแบบ นโยบายของรัฐ(Public Policy) นโยบายของรัฐมักเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์ของกิจกรรม ภาคเอกชน เมื่อผู้กำหนดนโยบายล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แสดงว่านโยบายรัฐอาจก่อให้เกิดผลที่ ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น ตัวอย่างของผลที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจจากนโยบายของรัฐ เช่น นโยบายว่าด้วยเข็มขัด นิรภัยและระบบป้องกันความปลอดภัยรถยนต์ ในทศวรรษ 1950 รถที่มีเข็มขัดนิรภัยมีจํานวนน้อย ต่างจากใน ปัจจุบันที่รถทุกคันล้วนมีเข็มขัดนิรภัย เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงก็เพราะ "นโยบายของรัฐ" นั่นเอง ในช่วง ปลายทศวรรษ 1960 หนังสือของ Ralph Nader ที่ชื่อ “Unsafe at Any Speed” ก่อให้เกิดกระแสเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของรถยนต์ รัฐสภาสหรัฐอเมริกาออกกฎหมายบังคับให้ผู้ผลิตรถยนต์ต้องสร้างอุปกรณ์รักษาความ ส่ ปลอดภัย ซึ่งหมายถึงรถทุกคันต้องมีอุปกรณ์มาตรฐานอย่างเข็มขัดนิรภัยด้วย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยกระทบ ความปลอดภัยของรถยนต์อย่างไร ? ผลทางตรงในเรื่องนี้ชัดเจนอยู่แล้ว ถ้ามีเข็มขัดนิรภัยในรถทุกคัน คนก็คาด เข็มขัดนิรภัยกันมากขึ้น และโอกาสที่จะรอดจากอุบัติเหตุรถยนต์ที่มีมากขึ้น ในแง่นี้ เข็มขัดนิรภัยช่วยรักษาชีวิต ผลดีทางตรงด้านความปลอดภัยนี้จูงใจให้รัฐสภาออกกฎหมายดังกล่าว แต่การทำความเข้าใจผลทั้งหมดของ กฎหมายต้องตระหนักว่า คนเปลี่ยนพฤติกรรมโดยตอบสนองสิ่งจูงใจที่เขาเผชิญอยู่ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องใน กรณีนี้คือการขับรถเร็วและความระมัดระวังในการขับรถ การขับรถช้าและระมัดระวังมีต้นทุนเพราะสิ้นเปลือง เวลาและพลังงาน เมื่อผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลตัดสินใจว่าจะขับรถอย่างปลอดภัยเพียงใด ก็จะเปรียบเทียบ ผลประโยชน์ส่วนเพิ่มจากการขับรถอย่างปลอดภัยกับต้นทุนส่วนเพิ่ม เขาจะขับรถช้าและระมัดระวังเมื่อ ผลประโยชน์จากการเพิ่มความปลอดภัยสูงกว่า นี่เป็นการอธิบายว่าทำไมคนถึงขับรถช้าและระมัดระวังขณะ ถนนลื่นมากกว่าสภาพถนนปกติ หากเราพิจารณาว่าการออกกฎหมายให้คาดเข็มขัดนิรภัยเปลี่ยนแปลงการ คำนวณต้นทุนและผลประโยชน์ของผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลอย่างไร ? พบว่าเข็มขัดนิรภัยทำให้ผู้ขับขี่รู้สึกว่าอุบัติเหตุ มีต้นทุนต่ำลงเพราะการคาดเข็มขัดนิรภัยช่วยลดความน่าจะเป็นในการบาดเจ็บและล้มตาย ดังนั้น เข็มขัดนิรภัย ลดผลประโยชน์จากการขับรถช้าและระมัดระวังลง ผู้ขับขี่ก็ตอบสนองต่อการใช้เข็มขัดนิรภัยโดยขับรถเร็วขึ้น และลดความระมัดระวังในการขับขี่ลง ผลสุดท้าย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยทำให้จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มสูงขึ้น 5 แล้วกฎหมายกระทบจำนวนคนตายจากการขับขี่อย่างไร ? ผู้ขับขี่ที่คาดเข็มขัดนิรภัยอาจมีโอกาสรอดชีวิตมาก ขึ้นจากอุบัติเหตุแต่ละครั้ง แต่โอกาสเกิดอุบัติเหตุอาจเพิ่มจำนวนมากครั้งขึ้น จำนวนคนตายสุทธิในประเด็นนี้ยัง ไม่ชัดเจน ยิ่งกว่านั้น การที่ผู้ขับขี่เลือกลดความระมัดระวังในการขับขี่ลงส่งผลกระทบทางลบต่อคนเดินถนน (และผู้ขับขี่ที่ไม่ได้คาดเข็มขัดนิรภัย) เพราะโอกาสเกิดอุบัติเหตุของคนเหล่านี้สูงขึ้นและไม่ได้รับการป้องกัน จากเป็นข้อมกัน ดังนั้น จอมมายว่าด้วยเข็มขัดนิรฉันมีแนวโน้มทำให้จำนวนการตายของคนเดินถนนเพิ่มสูงขึ้น 3

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอจะรู้จักทฤษฎีของความผุกร่อน ของนักเศรษฐศาสตร์คนนี้ไหมคะ พยายามหาแล้วแต่หาไม่เจอจริงๆ รบกวนหน่อยนะคะ

20:43 อ. 5 ต.ค. * e) (83% hmong.in.th โจเซฟ Schumpeter TIN TAI TRO mgid > ลงขายรถ ได้ราคาดี th. CARRO.co อายุ 60 ปี ลืมไปว่านกเขาไม่กินน้ำ มาดูวิธีผม! ป้องกันความดัน ปวด เป็นไง! ลงขายรถง่ายฟรี ที่ CARRO หัว มือชาด้วยธรรมชาติ 100% Carro Duracore Hapanix โจเซฟ Alois ซัม ( เยอรมัน: [ompete] : 8 กุมภาพันธ์ 1883 - 8 มกราคม 1950) (3)เป็นออสเตรียเศรษฐศาสตร์การเมือง เขาเกิดที่เมืองโมราเวียและ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของเยอรมัน - ออสเตรียในช่วงสั้น ๆ ในปี พ.ศ. 2462 ในปี พ.ศ. 2475 เขาได้อพยพไปยัง สหรัฐอเมริกาเพื่อเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดซึ่งเขายังคงดำรงตำแหน่งจนกระทั่งสิ้นสุดอาชีพการงานและในปี พ.ศ. 2482ได้รับ สัญชาติอเมริกัน ซัมเป็นหนึ่งในนักเศรษฐศาสตร์ที่มีอิทธิพลมากที่สุดของศตวรรษที่ 20 ต้นและ ความนิยมคำว่า " ทำลายความคิดสร้างสรรค์ " ซึ่งได้รับการประกาศเกียรติคุณ จากเวอร์เนอร์ Sombart [4}[5][6] โจเซฟ Schumpeter ชีวิตในวัยเด็กและการศึกษา ซัมเกิดใน Triesch, เบิร์กส์โมราเวีย (ตอนนี้การลงโทษในสาธารณรัฐเช็กนั้นเป็น ส่วนหนึ่งของออสเตรียฮังการี) ใน 1,883 เพื่อคาทอลิก ที่พูดภาษาเยอรมันพ่อแม่ ทั้งสองยายของเขาเป็นสาธารณรัฐเช็ก(7|schumpeter ไม่ยอมรับเชื้อสายเช็ก ของเขา; เขาคิดว่าตัวเองเชื้อชาติเยอรมัน 7 พ่อของเขาเป็นเจ้าของโรงงาน แต่ เขาเสียชีวิตเมื่อโจเซฟอายุเพียงสี่ขวบ (B)ในปี 1893 โจเซฟและแม่ของเขาย้าย ไปอยู่ที่กรุงเวียนนา 9ใช้มเป็นลูกน้องที่ซื่อสัตย์ของฟรานซ์โจเซฟฉันออสเตรีย (7) หลังจากเข้าเรียนที่Theresianum Schumpeter เริ่มอาชีพของเขาในการเรียน กฎหมายที่มหาวิทยาลัยเวียนนาภายใต้นักทฤษฎีทุนชาวออสเตรียEugen von Bohm-Bawerkจบการศึกษาระดับปริญญาเอกในปี 1906 ในปี 1909 หลังจาก ทัศนศึกษาบางครั้งเขาก็ได้เป็นศาสตราจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์และรัฐบาลที่ มหาวิทยาลัย Czernowitzในวันที่ทันสมัยยูเครน ในปี 1911 เขาได้เข้าร่วมมหา เกิด วิทยาลัยกราชซึ่งเขายังคงอยู่จนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง 8 กุมภาพันธ์ 2426 Triesch , โมราเวีย , ออสเตรียฮังการี ในปีพ.ศ. 2461 Schumpeter เป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการการขัดเกลาทาง สังคมที่จัดตั้งโดยสภาผู้แทนประชาชนในเยอรมนี ในเดือนมีนาคมปี 1919 เขา (ตอนนี้การลงโทษ, สา ธารณรัฐเช็ก)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยทีค่ะ ใครเข้าใจบ้าง

ตอนที่ 2 มี 4 ข้อ เลือกทํา 3 ข้อ (15 คะแนน) ) ร็บ เซ ซิจ๕ป. ะ = ม ' ล2เเรซีอโร 1. บริษัท ชาลาลา จํากัด ของไทยได้มาลงทุนตั้งโรงงานผลิตเครื่องแต่งกายบุรุบในประเทศอินเดียโดยสามารถ ผลิตสินค้าได้มูลค่าปีละ 21,000,000 บาท บริษัท นิพนธ์ ประเทศอินเดีย จํากัด ซึ่งเป็นของคนอินเดียผลิต สินค้าในประเทศจีนได้มูลค่าปีละ 25,000,000 บาท และมีบริษัทของคนอินเดียผลิตสินค้าในประเทศอินเคีย ซึ่งประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการส่งออก โดยมีมูลค่าเท่ากับ 50,000,000 บาท มีแรงงานอินเดียไปทํางานในไทย ได้รับผลตอบแทน 15,000,000 บาท และแรงงานไทยทํางานในอินเดียได้รับผลตอบแทน 18,000,000 บาท . ร : โดยทั้งสามบริษัทมีรายจ่ายต่อปีได้แก่ ค่าจ้างแรงงาน 5,000,000 บาท ค่าเช่าที่ดิน 3,000,000 บาท ค่าคอกเบีย 2.000,000 บาท ค่าเสื่อมราคา 4,000.000 บาท ค่าผ้าและวัสดุ 2.000,000 บาท กําไรของผู้ประกอบการ 5.600,000 บาท ภาษีเงินได้นิติบุคคล 2,500,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.400.000 บาท และภาษีธุรกิจเฉพาะ 2.200,000 บาท ให้แสดงวิธีการหาค่าต่างๆ ต่อไปนี้ 1.1 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น 608, @ง๒ ของไทย 1.2 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น 605, 6๕3๒ ของอินเคีย 1.3 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น งาง6 ของไทย 1.4 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น มาง๒ ของอินเดีย 1.5 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น ง1 ของอินเดีย 2. สมมติว่า ประเทศไทยมีการค้าขายกับการลงทุนข้ามชาติ และมีรายการต่างๆ ดังนี้ (ให้แสดงวิธีการหาค่าต่างๆ ) ผลตอบแทนบัจจัยการผลิตใน ต 1 6 * 1ห ต่างประเทศ อินเดีย ญี่ปุ่น ไทย อินเคีย 25,000 8,000 2.000 3,500 6,000 - 2.000 2.000 ญี่ปุ่น 70,000 30,000 5.000 8.000 2.500 3.000 - 4.000 ไทย 90,000 50.000 3.000 5.000 15,000 1.000 2.500 - 2.1 605, 6ม ของไทยมีค่าเท่ากับเท่าไร 2.2 605, 6มธ ของญี่ปุ่นมีค่าเท่ากับเท่าไร 2.3 6๕0ธ, สมธ ของอินเดียมีค่าเท่ากับเท่าไร 2.4 มูลค่าการส่งออกสุทธิของทั้ง 3 ประเทศมีค่าเท่ากับเท่าไร 2.5 รายได้สุทธิจากต่างประเทศของไทย ญี่ปุ่นและอินเคียมีค่าเท่ากับเท่าไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0