Chemistry
SMA

ช่วยหน่อยค่า

23. ตัวเร่งปฏิกิริยา ไม่มีผล ต่อข้อใด 1 ค่าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา 2 ค่าความร้อนที่ดูดหรือคายของปฏิกิริยา 3. อัตราการเกิดปฏิกิริยา 4 วิธีที่ดําเนินไปของปฏิกิริยา 24. นําแผ่นโลหะแมกนีเซียม (!/@) ขนาด 1 % 10 ตารางเซนติเมตร ปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (860 ที่มี คความเข้มข้น 0.2 กา๐1/ฮกา” จํานวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิห้อง เกิดสารละลายแมกนีเซียมคลอไรด์ (1๑612) 'และแก๊สไฮโดรเจน (42) ดังสมการ เห9 + 296แ๑๑) -» เห6น(๑ + หล์ด เมื่อเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นกับเวลา ได้ดังนี้ งริมพรย จากข้อมูล ถ้าต้องการให้เกิดแก๊สไฮโดรเจนในระบบเปลี่ยนจากกราฟ / เป็นกราฟ 8 ควรปรับการทดลองอย่างไร 1. ตัดโลหะแมกนีเซียมให้เป็นขิ้นที่มีขนาดเล็กลง 2. เปลี่ยนภาชนะใส่สารละลายกรด จากหลอดทดลองเป็นบีกเกอร์ 3. เติมน้้าลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกจนมีปริมาตรเป็น ลูกบาศก์เซน 30ติเมตร 4. เพิ่มปริมาตรสารละลายกรดไฮโดรคลอริก จาก ลูกบาศเซนติเมตร เป็น 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร 25. จากการทดลองนําเปลือกไข่ที่บดละเอียดมาทําปฏิกิริยากับกรดแอซิติกเกิดปฏิกิริยาดังสมการ (๑60 (9) + 26ห4๕00ห (ลดุ) -» 26ห600 (อดุ) + 63” (2ค) + ห0 (0) + 602 (ข่ หากต้องการทําให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นควรทําอย่างไร 1. ไม่บดเปลือกไข่ 2 เติมผล6 3. เพิ่มอุณหภูมิ 4. เติมน้้าลงในสารละลายกรดแอซิติก
PromotionBanner

Answers

ข้อ25น่าจะตอบ 2 ค่ะ เพราะเติมแล้ว จะไปจับกลายเป็นกับCH3COONa แล้วมันละลายน้ำค่ะ ปฏิกิริยาน่าจะไปข้างหน้า (ผิดขออภัยน้า) ถ้ามีเฉลยแล้วบอกเราด้วยน้า เราอยากรู้ว่าถูกไหม555

Post A Comment

ข้อที่23 คาดว่าตอบ2ค่ะ (ถ้าผิดขออภัยน้า)

Post A Comment
Apa kebingunganmu sudah terpecahkan?