ノートテキスト
ページ1:
1.กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ ข้อดี : สามารถปรับกำลังขยายได้ 1,000 เท่า ข้อเสีย : เป็นภาพมุมจำกัด เกิดภาพเสมือน วกลับ, กลับซ้ายขวา Coarse adjustment knob Fine adjustment knob. Power switch Eyepiece arm 5 4x scanning 10x low 40x high 100x oil Immersion - Revolving nosepiece Objective lens Stage Condenser - Diaphragm Base วิวัฒนาการของกล้องจุลทรรศน์ ช่วง ค.ศ. 1590-1600 เริ่มสร้างกล้องจุล ขยายภาพได้ 3-10 เท่า ↓ ประมาณ ค.ศ. 1665 Robert Hooke สร้างกล้องจุล เลนส์ประกอบ เพื่อใช้ศึกษาผนังเซลล์ของเปลือกโอ๊ค ประมาณ ค.ศ. 1675 Leeuwenhoek สร้างกล้องจุล เลนส์เดียว ↓ ช่วง ค.ศ. 1900 นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันได้สร้างกล้องจุล อิเล็กตรอนที่สามารถส่องวัตถุขนาด 0.13 น ประสิทธิ์ในการแยกจุดสองจุด 2.กล้องสเตอริโอ ข้อดี : มองวัตถุได้หลายมุมมอง ข้อเสีย : มีกําลังขยายไม่สงมากแต่ 10-40 เท่า เกิดภาพเสมือนหัวตั้ง ไม่กลับซ้ายขวา Zoom control knob Focusing knob Arm Base Eyepiece Objective lens Stage clip Stage KA N.A. สูง AR ต่ำ AR= N.A. เลนส์ที่ ม.ค. สูงจะมีประสิทธิภาพดี การเก็บรักษากล้องจุลทรรศน์ 1. จัด Object lens เป็น 4x 2. ปรับ Stage ให้ต่ำสุด 3. ทำความสะอาดเลนส์ด้วยกระดาษเช็ดเลนส์ เลนส์ 100x (oil) จะเช็ดด้วยไซลีนหรือ แอลกอฮอล์ผสมอีเทอร์ 4. ทำความสะอาด Stage ด้วยผ้าสะอาด 5. เก็บสายไฟโดยการพันรอบกล้อง 6. คลุมกล้องด้วยผ้าคลุมกล้อง 2. ยกกล้องไปเก็บโดยมือจึงยกที่ arm และ อีกมือรอง Stage
ページ2:
น การทดลอง ศึกษาการเกิดภาพของกล้องจุลทรรศน์แบบเลนส์ประกอบและกำลังขยายของภาพ 1. เข้าเว็บไซต์ http: // www.ncbionetwork.org/ict/microscope/ 2. เลือก Explore เพื่อทดลองใช้กล้องจุลทรรศน์แบบเสมือน 18:19 น. 13 ธ.ค. GUIDE TIP Ancbionetwork.org Welcome to the Virtual Microscope, Select an option from the menu below to use the resource guide. learn more about the microscope, explore, or to test your knowledge JE GUIDE LEARN EXPLORE TEST OPTIONS 3. เลือกกล่องสไลด์ด้านขวามือ จากนั้นเลือกสไลด์ที่ต้องการศึกษา N h Virtual Microscope C GUIDE TIP A ncbionetwork.org Explore a variety of slides and magnifications in this completely open microscope environment, MAIN 2 。。 4. ปรับปุ่มปรับหยาบจนเห็นภาพ แล้วปรับด้วยปุ่มปรับภาพละเอียดเพื่อให้ภาพชัดเจนที่สุด 5. ศึกษาสไลด์ Letter E โดยใช้กำลังขยาย 40x แล้วตอบคำถามในรายงาน
ページ3:
เซลล์และส่วนประกอบของเซลล์ ช่วงปี ค.ศ. 1939-1839 Matthias Schleiden & Theodor Schwann ได้ร่วมกันตั้งทฤษฎีเซลล์ *สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์คือหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต” เซลล์โพรคาริโอต (Prokaryotic cell) ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส จึงไม่มีนิวเคลียสที่แท้จริง และไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม Ex, แบคทีเรีย อาร์เดีย สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน เซลล์ยูคาริโอต (Eukaryotic cell) มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส และมีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม Ex. เซลล์ของยีสต์ โพรทิสต์ พืชและสัตว์ ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ แบคทีเรียมี 3 รูปแบบ Coccus Bacillus Spirillum ใช้เทคนิคการย้อมสีเพื่อจำแนกแบคทีเรีย แกรมบวก หรือ แกรมลบ 1. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) ห่อหุ้มเซลล์และควบคุมการเข้าออกของสาร ประกอบด้วยลิขิตและโปรตีน 2. นิวเคลียส (Nucleus) เป็นศูนย์รวมเมแทบอลิซึมและการถ่ายทอดสารพันธุกรรม การแบ่งเซลล์ 3 ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) อยู่รอบนิวเคลียสและถัดจากเยื่อหุ้มเซลล์ ประกอบด้วยไซโทซอลและออร์แกเนลล์ 6 all เซลล์พืช เซลล์สัตว์ Plant cell cytoplasm lysosome mitochondrion vacuole peroxisome vesicle © 2012 Encyclopædia Britannica, Inc. Animal cell chloroplast lysosome ribosomes ribosomes centriole cilium rough centrosome endoplasmic reticulum peroxisome smooth endoplasmic reticulum -nucleoplasm -nucleolus nuclear envelope nuclear pore cell wall nucleus en us SA cell membrane smooth endoplasmic reticulum nuclear pore nucleolus nucleoplasm nuclear envelope rough endoplasmic reticulum plasmodesma Golgi cell membrane apparatus mitochondrion Golgi apparatus secretory vesicles cytoplasm © Encyclopædia Britannica, Inc. nucleus
ページ4:
ออร์แกเนลล์ต่างๆ เอนโดพลาสมิกชนิดบรุขระ (RER) สร้างโปรตีน โกล แอพพารา ส เก็บและดัดแปลงโปรตีนจาก BER เอนโดพลาสมิกชนิดเรียบ (SEA) สร้างสเตรอยด์ ไขมัน และกำจัดสารพิษ ไรโบโซม ไมโทคอนเดรีย ไลโซโซม สร้างโปรตีน ทำกระบวนการเมแทบอลิซึม ย่อยสารต่าง ๆ พลาสทิค เป็นแหล่งสร้างสารอาหารให้กับสิ่งมีชีวิต มีสีต่างๆ เช่น คลอโรพลาสต์ มีคลอโรฟิลล์ (สีเขียว) Ex. ผักใบเขียว โครโมพลาสต์ มีแคโรซีนอยด์ (สีเหลือง ส้ม แดง) Ex. พริก มะม่วงสุก ลิวโครพลาสต์ ไม่มีสี สะสมแป้งหรือไขมัน Ex, มันฝรั่ง เผือก เปรียบเทียบไซโทพลาซึมของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ไซโทพลาซึม ITARHY เซลล์สัตว์ ผนังเซลล์ / ไรโบโซม / J ไมโทคอนเดรีย J พดา ทด / ไลโซโซม เอนโดพลาสมิก โกล แอพพาราส ↓ ไมโครทิวบูล เซนทริโอล แวคคิวโอล ขนาดใหญ่ เลก ไมโครทิวบลู เป็นโครงร่างของซิเลีย และคันเซล
ページ5:
1.เซลล์โพรคาริโอต - แบคทีเรียที่โดนย้อมสี การทดลอง - แบคทีเรียในโยเกิร์ต Coccus (แกรมบวก) 2. เซลล์ยูคาริโอต - 6 di เซลลเยอหอมแดง Bacillus . (แกรมลบ) Nucleus Cell wall -เซล ใบสาหร่ายหางกระรอก Cytoplasm -Cell wall - Chloroplast - เซลล์พริกแดง - เนื้อเยื่อระบบประสาทส่วนกลาง - Chromoplast Process Nucleus Cell wall Cell body TAT
ページ6:
การเคลื่อนที่ของโมเลกุลสาร เยื่อเลือกผ่าน (Differentially permeable membrane) เป็นเยื่อหุ้มเซลล์ที่จะรักษาระดับของสาร ที่เคลื่อนที่เข้าและออกจากเซลล์ โดยจะแยกสารต่างๆ ให้ผ่านได้ช้าหรือเร็ว ไฮเพอร์โทนิก (Hypertonic) ความเข้มข้น ภายในมากกว่าภายนอก H₂O d H₂O เซลลเหยว H₂O ไอโซโทนิก (Isotonic) ความเข้มข้น ภายในเท่ากับภายนอก H₂O H₂O เซลล์ปกติ H₂O ไฮโพโทนิก (Hypotonic) ความเข้มข้น ภายในน้อยกว่าภายนอก H₂O เ ล เ ง แ ก H₂O 1. การเคลื่อนที่แบบบราวนี้เนียน (Brownian movement) เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลแบบไม่มีทิศทาง ที่แน่นอน โดยโมเลกุลของของเหลวจะไปกระทบกับอนุภาค ทำให้อนุภาคเคลื่อนไหวเป็นพลังงานจลน เช่น การเคลื่อนที่ของอนุภาคสิค มีน 6d 2. การเคลื่อนที่แบบพาสซีฟทรานสปอร์ต (Passive transport) เป็นการเคลื่อนที่แบบไม่ใช้พลังงาน โดยเคลื่อนที่จากความเข้มข้นสูงไปต่ำ 1) การแพร่ (Diffusion) เป็นการเคลื่อนที่จากความเข้มข้นสูงไปต่ำ เช่น การหายใจผ่านผิวหนังของไส้เดือน การแลกเปลี่ยนแก๊สผ่านอัลวิโอไล่ในปอด 2) การแพร่แบบฟาซิลิเกต (Facilitated Diffusion) เป็นการเคลื่อนที่จากความเข้มข้นสูงไปต่ำ โดยผ่านโปรตีนชนิดพิเศษที่เยื่อหุ้มเซลล์ เช่น การแลกเปลี่ยนแคลเซียมไอออนของเซลล์ประสาท 3) ออสโมซิส (osmosis) เป็นการแพร่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากความเข้มข้นต่ำไปสูง เช่น การเกิดฮีโมไลซิส การเคลื่อนที่ของสารผ่านถึงไดอะไลซิส 3. การเคลื่อนที่แบบแอกทีฟทรานสปอร์ต (Active transport) เป็นการเคลื่อนที่แบบใช้พลังงาน ATP โดยเคลื่อนที่จากความเข้มข้นต่ำไปสูง เช่น การขับน้ำออกของโพรโทซัวจากคอนแทร็กไทด์ แวคิวโอล การนำคอเลสเทอรอลเข้าสู่เลือด การกินเชื้อโรคของเม็ดเลือดขาวชนิดแมคโครฟาจ
ページ7:
การทดลอง การเคลื่อนทีของสารแบบบราวเนียน หยดสารละลายสีคาร์มีนลงบนกระจกสไลด์แล้วปิดกระจกสไลด์ สังเกตการเคลื่อนที่ของอนุภาคโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ กำลัง 40x พบว่าอนุภาคสีคาร์มีนเคลื่อนที่แบบไม่มีทิศทาง 2) การแพร่ของแก๊ส หยดสารละลาย NH OH เพิ่มขึ้น 1-2 หยด ลงบนสำลีที่มุม A และหยดสารละลาย HCI เพิ่มขึ้น 1-2 หยด ลงบนสำลีที่มุม B พร้อม ๆ กัน ในจานแก้วที่เตรียมไว้ แล้วปิดฝาจานแก้วทันที NH,OH + HCI — NHCL + HgO ก่อนหยด conc. NH OH และ conc. HCL NHCH Hel หลังหยด conc. NH OH และ conc. HCL พบว่าเกิดตะกอนสีขาว (NH,CI) ตรงกลางค่อนไปทางสารละลาย HCI และเกิดละอองน้ำบนฝาแก้ว (3) การวัดอัตราเร็วของการเกิดออสโมซิส เตรียมถุงไดอะไลซิส 4 ถุง บรรจุสารดังนี้ 1. น้ำประปา 5 ml. 2. สารละลายซูโครส 20 % 5 ml. 3. สารละลายซูโครส 40 % 5 ml. 4. น้ำประปา 5 ml. มีดปลายถุงทั้งสองข้างให้แน่น แล้วนำถุง 1,2,3 ลงใน ลงในปีกเกอร์สารละลาย บีกเกอร์น้ำประปา ส่วนถุง 4 ลง ซูโครส 40 % แล้วชั่งน้ำหนักทุก ๆ 15 นาที นํ้าประปา นํ้าประปา นํ้าประปา ซูโครส 40% NHOH ถุงที่ 1 ถุงที่ 2 ถุงที่ 3 ถุงที่ 4 เวลา (นาที) น้าหนักของถุงไดอะไลซิส (9) ถุง 1 ถุง 2 ถุง 3 ถุง 4 0 5.48 5.99 5.98 5.15 15 5.49 6.04 5.29 4.66 30 5.48 6.24 6.69 4.22 45 5.4L 6.26 6.94 3.9% พบว่าถุง 1 เป็นไอโซโซนิก ถุง 1,3 เป็นไฮโปโทนิก ถุง 4 เป็นไฮเปอร์โทนิก เพราะโมเลกุลเคลื่อนที่จากความเข้มข้นต่ำไปสูง @ ผลของน้ำหนักโมเลกุลต่อการเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 4 และให้สรง 1 ของเยื่อหุ้มเซลล์ เม โลซิสเต วด ตามลำดับ เขย่าน beaบรรจุ 0.5. M เตรียมหลอดแก้ว 3 หลอด 2.กลเซอรอล 0.5 M 3. กลูโคส บรรจุสารดังนี้ 1.เอทไทลีนไกลคอล 0.5 M 0.5 M หยดเลือดกระต่าย 1 หยด ลงในหลอด 3 หลอด แล้วเขย่าหลอด พร้อมจับเวลา จากนั้นนำนดอดไปทาบบนกระดาษที่มีตัวหนังสือ เวลาที่เริ่มมองเห็นตัวหนังสือนับเป็นเวลาที่เกิดอีโมไลซิส น้ำหนักโมเลกุล เวลาการเกิดอีโมไลซิส เอทโทลีนไกลคอล กลีเซอรอล กลูโคส 62 21 วินาที 92 12 นาที 180 มากกว่า 30 นาที
ページ8:
เนื้อเยื่อเจริญ (Meristematic tissue) เนื้อเยื่อพืช เซลล์มีการแบ่งตัวตลอดเวลา เซลล์มีขนาดเล็ก ผนังบาง นิวเคลียสใหญ่ เซลล์อยู่ชิดกันโดยไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์ และมีไซโทพลาซึมข้น โดยแบ่งตามตำแหน่ง ดังนี้ 1. เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (Apical meristem) พบที่ปลายยอดและปลายราก 2. ยอด PROTODERM LEAF PRIMORDIUM PROCAMBIUM GROUND MERISTEM NODE PRIMORDI APICAL MERISTEM LEAF TRACE GAL ราก Root hair -Cortex -Xylem) Phloem Stele -Endodermis with Casparlian strip -Epidermis -Region of rapid cell division Quiescent center (few cell divisions -Root cap Mucigel sheath Shoot apical meristem Boot apical meristem เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (Lateral meristem) พบที่บริเวณด้านข้างของรากและลำต้น Pith at center, then 3 annual rings, and then bark on outside Xylem Cork cambium (light line) Cork phloem Vascular cambium Late wood Early wood Xylem ray Phloem Bark 3. เนื้อเยื่อเจริญระหว่างปล้อง (Intercalary meristem) พบในพืชใบเลี้ยงเ ข้อ = ( ) ปล้อง
ページ9:
เนื้อเยื่อถาวร (Permanent tissue) เจริญมาจากเนื้อเยื่อเจริญ เมื่อเจริญเต็มที่แล้วจะไม่แบ่งตัวอีก เซลล์จะเปลี่ยนรูปร่างเพื่อทำหน้าที่เฉพาะ แบ่งเป็นหลายชนิด ดังนี้ 1. เนื้อเยื่อผิว (Epidermis) 1) เซลล์ผิว (Epidermal cell) มีชั้นคิวทิเคิลเคลี เคลือบเพื่อลดการระเหยของน้ำ 2) เซลล์บน (Trichome) เพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดน้ำและอาหาร และปกป้องพืช 3) เซลล์คุม (Guard cell) ควบคุมการเข้า-ออกของน้ำและอากาศ 4) ปากใบ (Stomata) ช่องว่างระหว่างเซลล์คุม 2. เนื้อเยื่อที่ให้ความแข็งแรง (Machanical tissue) 1) คอลเลนไคมา (Collen chyma) เซลล์มีชีวิต ผนังไม่หนา 2) สเกลอเรนไคมา (Sclerenchyma) เซลล์ไม่มีชีวิต ผนังหนา -ไฟเบอร์ (Fiber) รูปร่างยาวเรียว - สเกลอร์ด (Sclereid) รูปร่างกลมสั้น 3. เนื้อเยื่อ อเยื่อพื้นฐาน (Fundamental tissue) 1) พาเรนไคมา (Parenchyma) เซลล์มีชีวิต ผนังบาง สะสมอาหาร Stomara Guard ell Collenchyma Fiber Sclereid 2) เอนโดเดอร์มิส (Endodermis) ควบคุมการเข้า-ออกของน้ำ และเกลือแร่ 4. เนื้อเยื่อลำเลียง (Vascular tissue) 1) ไซเลม (Xylem) ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ - เวสเซล (Vessel member) เทรคีต (Tracheid) ไซเลมไฟเบอร์ (Xylem fiber) - ไซเลมพาเรนไคมา (Xylem parenchyma) 2) โฟลเอม (Phloem) ลำเลียงอาหาร - ซีฟทิวบ์เมมเบอร์ (Sieve tube member) เซลล์คอมพาเนียน (Companion cell) - โฟลเอมไฟเบอร์ (Phloem fiber) - โฟลเอมมาเรนไคมา (Phloem parenchyma) Phloem fiber Phloem Xylem Phloem Xylem 0 Parenchyma Endodermis
ページ10:
ก Epidermis Vascular bundle Cortex Pith Fiber Phloem fiber ก. พืชใบเลี้ยงคู่ Phloem Vascular cambium -Xylem Phloem Xylem Vascular bundle Cortex ก. พืชใบเลี้ยงคู่ ง. พรเบเลยงเดียว บ piliferous layer ก พืชใบเลี้ยงเดี่ยว pericycle xylem stele phloem xylem phloem pericycle endodermis cortex endodermis (with passage cells) stele exodermis starch grains cortex piliferous layer
ページ11:
พันธุศาสตร์ประชากร พันธุศาสตร์ ประชากร (Population genetics) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับความถี่จีโนไทป์ และความถี่อัลลีลในประชากร กฎของฮางดี - ไวน์เบิร์ก (Hardy - Weinberg Law) หากประชากรมีลักษณะดังนี้ ความถี่อัดฉีดในรุ่นถัดไปจะคงที่ 1. ประชากรมีขนาดใหญ่ 2. มีการผสมพันธุ์เป็นไปอย่างอิสระ 3. ไม่มีมิวเทชั่น 4. ไม่มีการคัดเลือกในเชิงการอยู่รอด 5. ไม่มีการอพยพเข้าออกจากประชากร I ยีน (Gene) หน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม I | อัลลีล (Allele) รูปแบบยีนที่ควบคุมลักษณะ (Genotype) รูปแบบของการรวมตัวของอิลสล - ฟีโนไทป์ (Phenotype) ลักษณะที่ปรากฎ | I 1 1 สภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ถ้าปัจจัยหนึ่งถูกกระทบ จะทำให้ความถี่อัลลีลในประชากรรุ่นถัดไปเปลี่ยนแปลง Ex. จีโนไทป์ A,A, มีฟีโนไทป์เป็น สีแดง จีโนไทป์ AA, มีฟีโนไทป์เป็น สีชมพู จีโนไทป์ AA, มีฟีโนไทป์เป็น สีขาว จำนวนจีโนไทป์ A,A, จำนวนจีโนไทป์ทั้งหมด จำนวนจีโนไทป์ A,A, จำนวนจีโนไทปทั้งหมด จำนวนจีโนไทป์ A.A, จำนวนจีโนไทป์ทั้งหมด 980 เมด ลูกปัดสีแดง (A,A,) ลูกปัดสีชมพู (A,A,) 240 ลูกปัดสีขาว (ค.ศ.) 980 2,000 = 0.49 840 2,000 0.42 1 180 2,000 = 0.09 คํานวณความถี่จีโนไทป์ ความถี่จีโนไทป์ A,A, = ความถี่จีโนไทป์ A,A, ความถี่จีโนไทป์ A.A, = คำนวนความถี่อัลดีด คำนวนอัลลีล A, = จำนวนอัลลีล A, = 2A,A, + A,A, = 2(980) + 840 = 2,800 2A,A, + A,B, = 2 (180) + 840 - 1,200 ความถี่อัลลีล A, = จำนวนอัลลีล A, จำนวนอัลลีลทั้งหมด 2,800 = 0.7 4,000 ความถี่อัลลล A, จำนวนอัลลีล A. จำนวนอัลลีลทั้งหมด 1,200 = 0.3 4,000 4,000 G เมด G 180 เมล
ページ12:
เนื้อเยื่อสัตว์ เนื้อเยื่อบุผิว (Epithelial tissue) เซลล์มีรูปร่างไม่แน่นอน เรียงตัวชัดแน่น ทำหน้าที่ป้องกัน ดูดซึม และรับความรู้สึก Nucleus Basement membrane แบ่งตามรูปร่างของเซลล์ได้ 3 ชนิด Free surface Squamous epithelium ดดดดดด cuboidal epithelium เซลล์รูปร่างแบนบาง เซลล์รูปลูกบาศก์ ........ colummer epithelium เซลล์รูปทรงกระบอก แบ่งตามการจัดเรียงตัวของเซลล์ได้ 2 ชนิด 1. Simple epithelium เซลล์เรียงตัวชั้นเดียว 1) Simple squamous epithelium เซลล์มีรูปร่างแบนบาง พบที่ผิวแก้มด้านใน ผนังเส้นเลือด 2) Simple cuboidal epithelium เซลล์มีรูปร่างเป็นรูปลูกบาศก์ พบที่รังไข่ ท่อหน่วยไต ท่อต่อมต่างๆ 3) Simple columnar epithelium เซลล์เป็นรูปแท่งทรงกระบอก พบที่ทางเดินหายใจบางส่วน ได้เล็ก 4) Pseudostratified columnar epithelium เซลล์เป็นรูปแท่งทรงกระบอก มีความสูงไม่เท่ากัน พบที่หลอดลม ขั้วปอด 2. Stratified epithelium เซลล์เรียงตัวหลายชั้น 1) Stratified squamous epithelium เซลล์มีรูปร่างแบนบาง พบที่ดิน ช่องคลอด 2) Stratified cuboidal epithelium เซลล์มีรูปสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ พบที่ท่อของต่อมเหงื่อ 3) Stratified columnar epithelium เซลล์เป็นรูปสี่เหลี่ยมทรงเตี้ย พบที่ต่อมน้ำลาย ท่อต่อมน้ำนม แบ่งตามการทำงานได้ 2 ชนิด 1. Sensory epithelium ทำหน้าที่รับความรู้สึก 2. Glandular epithelium ทำหน้าที่สร้างหรือหลั่งสาร
ページ13:
Ex. การศึกษาความถี่อัลลีลรุ่น F1 จากการผสมพันธุ์อย่างอิสระ 50 คู่ ของรุ่นพ่อแม่ 1. รวมลูกปัดสีแดง 150 เม็ด สีชมพู 340 เม็ด และสีขาว 150 เม็ด ผสมในคละกันและจับขึ้นมาทีละคู่ เพื่อเลียนแบบการผสมพันธุ์อย่างอิสระ และบันทึกผลลงในตาราง จำนวนจิโนไทป์ที่เลือก จำนวนจีโนไทป์ทั้งหมด การจับคู่ (สี) | จีโนไทป์ 1. แดง × แดง A, A, × A, A, ผลรวมการจับคู่ ความถี่โท 10 ความถี่จีโนไทป์ A,A, 980 = = 0.49 2. 66019 × 82121 x A, A, × A,A₂ 21 2,000 3. แดง × ยาว A,A, × A,A, 5 4. 82121 × 82121 A,A₂× A,A₂ 11 ความถี่จีโนไทป์ A,A, 7 840 2,000 = 0.42 5. ชมพู x ยาว A, A, X A,A, 3 6. ขาว × ขาว A,A, × A,A, 0 ความคิจิโร่ไทป A,A, 180 2,000 = 0.09 2. หาจำนวนจีโนไทป์รุ่นลูก F1 ที่เกิดจากการจับลูกปัดในรุ่นพ่อแม่ โดยกำหนดให้พ่อแม่ 1 คู่ มีลูกได้ 4 ตัว ความเป็นไปได้ของจีโนไทป์ของลูก พ่อ x แม่ 1. A,A,A,A, 4x A, A, 2. A,A,A,A2 2× A,A, 2 × A,A2 3. A, A, × A,A, 4 × A,A, 4. A,A2A,A2 1× A,A, 2 × A,A2 1 × A,A, 5. A, A, X A,A, 2 × A,A2 2 × A,A, 6. A,A, × A,A, 4 × A,A, 3. หาความถี่อัลลีล A, และ A, ในรุ่นลูก F1 800 ความดอลลล A, E P = ความดอลลล A, = 9 = จำนวนอัลลีล A, จำนวนอัลลีลทั้งหมด จํานวนอัลลีล A, จำนวนอัลลีลทั้งหมด = 2(46)+46 200 = 0.69 2(8)+46 200 = 0.31
ページ14:
เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissue) มีเซลล์ไม่มากนัก มี matrix ระหว่างเซลล์ ทำหน้าที่ปกป้องอวัยวะข้างใน แบ่งตามชนิดและการเรียงตัวของเส้นใย ci 1. เนยเยอเกียวพน พันชนิดโปร่งบาง (Areolar connective tissue) เส้นใยกระจายตัวไม่มีระเบียบ ทำหน้าที่เก็บสะสมของเหลวและเกลือ พบที่ จวนน้า มัดรวมอยู่กับเนื้อเยื่อไขมัน 2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดทึบ (Dense connective tissue) เส้นใยเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบ ทำหน้าที่สร้างเส้นใยชนิดคอลลาเจน ชนิด regular พบที่เอ็นยึดกระดูก ชนิด irregular พบที่ไต ตับ ม้าม 3. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดอิลาสติก (Elastic connective tissue) เส้นใยอิลาสติกมีการแตกแขนงมากมาย พบที่ผนังเส้นเลือดและเนื้อเยื่อปอด 4. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดตาข่าย (Reticular connective tissue) เป็นเส้นใยตาข่ายสานไปมา ทำหน้าที่ค้ำจุนอวัยวะต่างๆ พบที่ตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลือง 5. เนื้อเยื่อไขมัน (Adipose tissue) ประกอบด้วยเซลล์สร้างเส้นใย ประเภทคอลลาเจน ทำหน้าที่เก็บไขมัน พบที่ชั้นใต้ผิวหนัง ได 6. กระดูกอ่อน (Cartilage) ประกอบด้วย 2 ชั้น ชั้นนอกเป็นเนื้อเยื่อ เกี่ยวพันชนิดกับแบบ megular ชั้นในเป็นที่อยู่ของเซลล์กระดูกอ่อน แบ่งออกเป็น 3 ชนิด 1) Hyaline cartilage มีเส้นใยคอลลาเจนหนาแน่นทำให้แข็งแรง โค้งงอได้ดี พบที่จมูก กล่องเสียง หลอดลม 2) Elastic cartilage มีเส้นใยอิลาสติกจำนวนมาก ทำให้ยืดหยุ่น และโค้งงอได้ดีมาก ได้ดีมาก พบที่ใบหู ปลายจมูก 3) Fibre cartilage มีเส้นใยคอลลาเจนสานกันแน่นมาก ทำให้แข็งแรงทนทาน พบที่รอบข้อต่อ 7. กระดูก (Bone) ประกอบด้วยแคลเซียมฟอตเฟต ทำให้มีลักษณะแข็ง งอไม่ได้ 8. เลือด (Vascular tissue) ประกอบด้วยเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด 999 Areolar (Loose) Connective Tissue Elastic fiber 2 Collagen fiber ← Nucleus Dense Connective Tissue . Hagenous fibers \fibroblast/cyte => Elastic Connective Tissue Reticular Connective Tissue EC Reticular fiber. Reticular cell Fat Adipose Tissue E Matrix Adipose cell Hyaline Cartilage Chondrocytes Lacuna Nucleus Bone Canaliculi -Lacuna Harversian canal
ページ15:
หมู่เลือดระบบ A-B-0 และ M-N ในส่วนประกอบของเลือด เซลล์เม็ดเลือดมีแอนติเจน เป็นสารประกอบไกลโคโปรตีน ส่วนในพลาสมามีแอนติบอดี ซึ่งเป็นสารประกอบโปรตีน ทำหน้าที่เป็นภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย ในแต่ละบุคคลจะมีหมู่เลือดแบบต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับ ชนิดของแอนติเจนและแอนติบอดีที่ผลิตออกมาภายใต้การควบคุมของยีน หมู่เลือดระบบ A-B-0 ในปี พ.ศ. 2444 นายแพทย์คาร์ล ลันด์ซไตเนอร์ ศึกษาระบบหมู่เลือดในคน และแบ่งเป็น 4 หมู่ ดังนี้ หมู่เลือด แอนติเจน แอนติบอดี จีโนไทป์ A A Anti-B AA หรือ A10 B Anti-A * หรือ º° AB A,B AB Anti-A, Anti-B 100 หรือ ii นลักสําคัญในการถ่ายเลือด AB หมู่เลือดในระบบ M-N 0 เอนติเจนของผู้ให้ต้องไม่ตรงกับแอนติบอดีของผู้รับ ในเลือดของผู้ให้ประกอบด้วย เม็ดเลือดแดง จำนวนมากและมีแอนติบอดีในเซรุ่มน้อยมาก ดังนั้นแอนติบอดีในเซรุ่ม ของผู้ให้จึงไม่ทำให้เกิดปฏิกิริยากับแอนติเจนของผู้รับ จนถึงขั้นเป็นอันตรายต่อผู้รับได้ ในปี พ.ศ. 2471 ลินด์ชโฮเนอร์ กับ พี เลวิน ค้นพบหมู่เลือดระบบ 1-N ซึ่งมีการสร้างเฉพาะแอนติเจน ในเซลล์เม็ดเลือดแดง แต่ไม่มีการสร้างแอนติบอดีในเซรุ่ม ดังนั้นจึงไม่จำเป็นต้องตรวจหมู่เลือดก่อนถ่ายเลือด หมู่เลือด แอนติเจน แอนติบอดี จีโนไทป์ M M N N MN M,N MM NN MN หมู่ A หมู่ AB หมู่ N หมู่ N
ページ16:
เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ (Muscular tissue) เซลล์จะมีรูปร่างยาว เป็นนิวเคลียสชัดเจน แบ่งออกเป็น 3 ชนิด 1. กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle) พบที่ผนังของทางเดินอาหาร มดลูก เส้นเลือด 2. กล้ามเนื้อสเกเลฑล (Skeletal muscle) พบที่กล้ามเนื้อยึดติดกระดูกทั่วร่างกาย เช่น แขน ท 3. กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle) พบที่ผนังหัวใจ Smooth muscle เนื้อเยื่อประสาท (Nervous tissue) Skeletal muscle Cardiac muscle 1. เซลล์ประสาท (Neuron) ทำหน้าที่นำกระแสความรู้สึกทางเคมีและทางไฟฟ้า 2. เซลล์เกี่ยวพันประสาท (Glial cell ) ทำหน้าที่ค้ำจุนและให้อาหารแก่เซลล์ประสาท Process of neurone SeNeurons Nervous tissue Neurog lip cells 100 um Synaptic knob Motor end plate. Axon Muscle Moter end plate 500 um
ページ17:
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรม (Behavior) วิธีที่สิ่งมีชีวิตกระทำต่อสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก เป็นการทำงานร่วมกันระหว่างยืน และสิ่งแวดล้อม สัตว์จะแสดงพฤติกรรมได้โดยการทำงานร่วมกันของระบบต่าง ๆ พืชก็สามารถตอบสนองได้เช่นกัน แต่การตอบสนองของพืชไม่ซับซ้อนเหมือนสัตว์ เนื่องจากพืชไม่มีระบบสมอง มีเพียงแต่ฮอร์โมนที่ใช้ในการตอบสนอง 1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด (Inherited behavior) พฤติกรรมที่เป็นสัญชาติญาณ สัตว์สปีชีส์เดียวกันจะเหมือนกัน 2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (Learned, behavior) พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ ไม่สามารถถ่ายทอดได้ พฤติกรรมวิทยา (Ethology) การศึกษาพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต จะต้องเริ่มจากเก็บข้อมูลพฤติกรรมของ สิ่งมีชีวิตก่อน เพื่อนำไปวิเคราะห์ และตอบคำถามทางวิทยาศาสตร์ สารานุกรม พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต (Ethogram) การที่มีภาพอธิบายพฤติกรรม และคำจำกัดความของการกระทำต่าง ๆ หน่วยของพฤติกรรม (Unit of behavior) การจัดพฤติกรรมที่เป็นนามธรรม รูปแบบการกระทำ (Action pattern) การแบ่งพฤติกรรม ดูซับซ้อนเป็นหน่วยย่อย ๆ ลำดับของพฤติกรรม (Sequence of behavior) พฤติกรรมย่อย ๆ ที่ต่อเนื่องกัน Ex. ศึกษาพฤติกรรมของเปิดหัวเขียว ลำดับของพฤติกรรม BD HS PW BD HS PW BD HS HS BD PW BD HS PW HS HS PW BD HS PW ตารางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม BD น้วจุ่มน้ำ TN สะบัดนาง พฤติกรรม BD HS PW WF TW รวม BD 0 5 1 ด 0 b HS สะบัดหัว WF สะบัดปีก HS 1 2 5 0 0 8 PW 5 1 0 0 0 b PW กางปีก BS สินตัว WF 0 0 0 0 0 0 TW 0 0 0 0 0 0 รวม 20 แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 0.9 ตารางแสดงความถี่ของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม พฤ ากรรม BD PW 0 0.3 80 80 BD HS 28 PW WE TW รวม 0 0.8 0.2 0 0 1 0.1 ↑ HS 0.1 0.3 0.6 0 0 1 0.8 0.2 0.2 PN 0.8 0.2 0 ° 0 1 0.6 WF 0 0 0 0 0 0 TW HS 0 0 0 0 0 0
ページ18:
การแบ่งเซลล์ การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (Mitosis) Telophase G1 (Anaphase S * Interphase 62 * sk M phase Metaphase /Prometaphase Prophase ระยะอินเตอร์เฟส (Interphase) เป็นระยะที่เซลล์เตรียมพร้อมก่อนที่จะแบ่งนิวเคลียสและไซโทพลาซึม 1. ระยะก่อนสร้าง DNA หรือระยะ G1 (First gap phase) เซลล์มีการเติบโต ขนาดใหญ่ขึ้น มีการสังเคราะห์โปรตีน 2. ระยะสร้าง DNA หรือระยะ s (Synthesis phase) เซลล์มีการจำลองตัวของโครโมโซม โดยการสังเคราะห์ DNA 3. ระยะหลังสร้าง DNA หรือระยะ G2 (Second gap phase) เซลล์เตรียมพร้อมที่จะแบ่งเซลล์ มีการสร้างโปรตีนและออร์แกเนลล์ต่างๆ ระยะ M phase เป็นระยะที่มีการแบ่งนิวเคลียสในช่วงเวลาสั้น ๆ แล้วตามด้วยการแบ่งไซโทพลาซึม 1. ระยะโพรเฟส (Prophase) เริ่มต้นการแบ่งแบบไมโทซิส ในระยะเริ่มต้นจะเห็นนิวเคลียสได้ชัดเจน ต่อมาเมื่อหุ้มนิวเคลียส และนิวคลีโอลัสเริ่มสลายไป โครมาทินมีการขุดตัวโดยการบิดเกลียว และมีการสร้างเส้นใยสปินเดิลรอบเซนทริโอล 2. ระยะโพรเมทเฟส (Prometaphase) โครโมโซมเริ่มเรียงกันบริเวณกลางเซลล์ เยื่อหุ้มนิวเคลียสสลายตัวไปหมด เซนโทรโซม เคลื่อนที่มาอยู่ตรงข้ามกันที่บริเวณขั้วเซลล์ทั้งสองข้าง เส้นใยสปินเดิลจับกับไคนีโทคอร์บนโครโมโซม 3. ระยะเมทาเฟส (Metaphase) โครโมโซมเรียงกันบริเวณกลางเซลล์ เซนโทรโซมเคลื่อนที่มาอยู่ตรงข้ามกันที่บริเวณกลางเซลล์ ในระนาบเดียวกัน เป็นระยะที่เหมาะต่อการศึกษาโครโมโซมเพราะมีขนาดชัดเจนที่สุด 4. ระยะแอนาเฟส (Anaphase) เกิดการแยกกันของซิสเตอร์โครมาทิดในทิศทางตรงกันข้าม ทำให้โครโมโซมแยกกันเป็น 2 กลุ่ม และจะถูกตั้งไปสู่ขั้วของเซลล์ที่อยู่ตรงข้าม 5. ระยะเทโลเฟส (Telophase) เกิดนิวเคลียสใหม่ 2 นิวเคลียส เส้นใยสปินเดิลสลายตัว มีการสร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียสและ 2 นิวคลีโอลัสขึ้นมาใหม่ โครโมโซมคลายตัวยึดออกเป็นเส้นใยโครมาทิน และเริ่มเห็นเป็น 2 นิวเคลียส
ページ19:
การทดลอง ศึกษาพฤติกรรมของกระทิงป่า ตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เดินหน้า (FW) ถอยหลัง (BK) เงยหน้า (UP) ก้มหน้า (DN) หันซ้าย (LT) หันขวา (BT) พฤติกรรม FW BK UP DN 10005 FW BK UP PN LT 0 0 7 0 0 2 Eloo AT รวม 0 1 8 0 0 2 0 0 3 2 6 11 1 8 0 1 1 15 LT 2 0 0 2 0 0 4 RT 0 1 2 3 1 0 0 3 รวม 48 ลำดับพฤติกรรม FW DN UP LT DN FW DN UP ตารางแสดงความถี่ของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม DN FW RT UP DN UP RT DN UP LT FW DN LT FW DN FW พฤ ากรรม FW BK UP DN LT BT รวม DN FW DN FW DN UP RT BK | * | | 85| 8 FW 0 0 0 0.875 0 0.125 1 DN RT UP RT DN UP RT DN BK 0 0 0 1 0 0 1 UP 0 0 0 0.27 0.18 0.55 1 BK DN UP RT LT DN S UP RT DN 0.32 0.06 0.5 0 0.06 0.06 1 LT 0.5 0 0.5 0 0 1 RT 0 0.143 0.296 0.428 0.143 0 1 - แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 0.5 0.13 FW UP LT 0.125 0.55 R 0.286 0.115 0.06 0.5 0.32 0.23 0.5 $0.06 BK DN AT 0.06 0.429 0.143 0.143 ขนาดลูกศร อ บอกปริมาณความถี่
ページ20:
การแบ่งเซล แบบไมโอซิส (Meiosis) Interphase ( Prophase I Prometaphase I Metaphase I Anaphase I 4 T Interkinesis Cytokinesis Aanaphase II Telophase II Metaphase II Prometaphase II Prophase II SR WI www Telophase I ระยะอินเตอร์เฟส (Interphase) เป็นระยะที่เซลล์เตรียมพร้อมก่อนที่จะแบ่งนิวเคลียสและไซโทพลาซึม ระยะไมโอซิส I (Meiosis I) เป็นการแยกกันของโฮโรโลกัสโครโมโซม 1. ระยะโพรเฟส I (Prophase 1) เริ่มต้นการแบ่ง เยื่อหุ้มนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสเริ่มสลายตัว และเกิดการคลอดซึ่งโอเวอร์ 2. ระยะโพรเมทาเฟส I (Prometaphase 1) เส้นใยสปินเดิลยึดเกาะกับไคนีโทคอร์บนโฮโมโลกัสโครโมโซม 3. ระยะเมทาเฟส I (Metaphase 1) เส้นใยสปินเดิลทำให้โครโมโซมมาเรียงตัวกันเป็นคู่ๆ ตามแนวระนาบ 4. ระยะแอนาเฟส I (Anaphase 1) เกิดการแยกกันของโฮโมโลสโครโมโซมไปด้านตรงข้ามของเซลล์ 5. ระยะเทโลเฟส I (Telophase 1) มีการสร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียสู่ล้อมรอบโครโมโซม เกิดนิวเคลียสใหม่ 2 นิวเคลียส 6. ระยะอินเตอร์ไคเนซิส (Interkinesis) สิ้นสุดระยะไมโอซิส 1 ซึ่งในระยะนี้จะไม่มีการจำลองตัวของโครโมโซม ระยะไมโอซิส II (Meiosis II) เป็นระยะที่เกิดขึ้นต่อเนื่องจากระยะไมโอซิส 1 1. ระยะโพรเฟส I (Prophase I) เยื่อหุ้มนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสเริ่มสลายตัว และมีการสร้างเส้นใยสปินเดิลรอบเซนทริโอล 2. ระยะโพรเมทาเฟส I (Prometaphase II) โครโมโซมเริ่มเรียงกันบริเวณกลางเซลล์ เยื่อหุ้มนิวเคลียสสลายตัวไปหมด 3. ระยะเมทาเฟส I (Metaphase 1) โครโมโซมเรียงกันบริเวณกลางเซลล์ในระนาบเดียวกัน 4. ระยะแอนาเฟส II (Anaphase II) เกิดการแยกกันของซิสเตอร์โครมาทิด ทำให้โครโมโซมแยกกันเป็น 2 กลุ่ม 5. ระยะเทโลเฟส I (Telophase II) เกิดนิวเคลียสใหม่ 2 นิวเคลียส เส้นใยสปินเดิลสลายตัว และมีการสร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียส 6. ไซโทไคเนซิส (Cytokinesis) จะได้เซลล์ 4 เซลล์ โดยแต่ละเซลล์มีจำนวนโครโมโซมเป็นครึ่งหนึ่งของเซลล์แม่
ページ21:
ระบบนิเวศวิทยา ห่วงโซ่อาหาร (food chain) มีพืชเป็นผู้ผลิต และมีสิ่งมีชีวิตอื่นมากินต่อกันเป็นทอด ๆ สายใยอาหาร (food web) การเชื่อมโยงกันของห่วงโซ่อาหารที่ซับซ้อน ผู้ผลิต (producer) พืช สาหร่าย ไดอะตอม ผู้บริโภค (consumer) ผู้บริโภคลำดับที่ 1 1 (herbivore) กลุ่มกินพืช ผู้บริโภคลำดับที่ 2 (carnivore) กลุ่มกินเนื้อ ผู้กินซาก (scavenger) ผู้ย่อยสลาย (decomposer) แบคทีเรีย ราน www. ดัชนีที่ใช้วัดค่าความหลากหลายทางชีวภาพ ในบทนี้เราจะใช้ Simpson's diversity (D) ในการเปรียบเทียบความหลากหลายของระบบนิเวศน้ำจืด โดยปัจจัยสองปัจจัย คือ Bichness คือ จำนวนชนิดของสิ่งมีชีวิตที่พบในพื้นที่ศึกษา Evenness คือ การวัดอัตราส่วนจำนวนของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดที่พบในพื้นที่ศึกษา สูตรของ Simpson's Diversity Index มีดัชนีที่เกี่ยวข้อง 3 แบบ คือ Simpson's Index (D) เป็นการวัดความน่าจะเป็นของสิ่งมีชีวิต 2 ตัว ที่ถูกสุ่มมาจากชุมชน มีการคำนวน 2 แบบ คือ แบบที่ 1 การสุ่มตัวอย่างแบบนำกลับคืน แบบที่ 2 การสุ่มตัวอย่างแบบไม่นำกลับคืน D = n - จำนวนตัวที่พบของสิ่งมีชีวิต N - จำนวนตัวที่พบทั้งหมดจากทุกสิ่งมีชีวิต D = Σn(n-1) N(N-1) * ค่า D จะอยู่ระหว่าง 0-1 ถ้า 0 - 0 (มีความหลากหลายทางชีวภาพมาก) ถ้า D-1 (ไม่มีความหลากหลายทางชีวภาพ) Simpson's Index of Diversity (1-D) * ค่า 1-0 จะอยู่ระหว่าง 0-1 ถ้า 1-0 มาก (มีความหลากหลายทางชีวภาพมาก) ถ้า 1-0 น้อย (มีความหลากหลายทางชีวภาพน้อย) Simpson's Reciprocal Index (1/D) * ค่า 1/0 จะเริ่มต้นที่ 1 ถ้า 1/D มีค่ามาก (ชุมชนนั้นมีความหลากหลายทางชีวภาพมาก)
ページ22:
แพลงก์ตอน (plankton) กลุ่มสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก บางชนิดมีเซลล์เดียว บางชนิดมีหลายเซลล์ ล่องลอยไปตามกระแสน้ำ แพลงก์ตอนพืช (phytoplankton) สาหร่ายเซลล์เดียวต่างๆ เป็นผู้ผลิตที่สำคัญของชุมชนสิ่งมีชีวิตในน้ำ - คริสต์โซโฟต (Chrysophyta) ไดอะตอม คลอโรไฟตา (Chlorophyta) สาหร่ายสีเขียว - ไซแอโนไฟตา (Cyanophyta) สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (สามารถตรัง N ได้ และมักจะมีกลิ่นเหม็นคาว) ไดอะตอม 1 กลุ่มไดอะตอม กลุ่มสาหร่ายสีเขียว ไดอะตอม 2 สาหร่ายสีเขียว 1 สาหร่ายสีเขียว 2 สาหร่ายสีเขียว 3 ไดอะตอม 3 โตะตอม 4 กลุ่มโปรโตซัว สาหร่ายสีเขียว 4 แบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน พารามีเซียม 1 ยูกลีนา 1 ยูกลีนา 2 ยูกลีนา 3 พารามีเซียม 2 พารามีเซียม 3 สเตนเตอร์ โปรโตรัว 1 โปรโตซัว 2 โปรโตซัว 3 โปรโตซัว 4 วอ เซลลา แพลงก์ตอนสัตว์ (zooplankton) จัดเป็นผู้บริโภคอันดับแรก โพรโตซัว ได้แก่ พารามีเซียม อะมีบา วอร์ทิสเซลลา - โรหมุนหรือหนอนจักร ได้แก่ ครัสเซียน ได้แก่ ไซครลอป ไรน้ำ ออสทราคอด ตัวอ่อนแมลงนํ้า 1 ตัวอ่อนแมลงนํ้า 2 ไรนํ้าจืด หนอนตัวกลม 2 หนอนตัวกลม 1 กลุ่มสัตว์ โรติเฟอร์ 1 โรติเฟอร์ 2 โรติเฟอร์ 3 โรติเฟอร์ 4 โรติเฟอร์ 5 แกสโตรทริชา 1 แกสโตรทริชา 2 100 pm หนอนตัวแบน 1 หนอนตัวแบน 2 คร้สทาเชียน 1 ครัสทาเขียน 2
ページ23:
การทดลอง ศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศน้ำจืด - สุ่มตัวอย่างสิ่งมีชีวิต จากทั้งหมดมา 3 กลุ่ม - บันทึกชนิดและจำนวนของแพลงก์ตอนลงในตารางรายงานปฏิบัติการ คำนวณหาดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอน บอท 1 11 14 บอท 2 E 15 สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีเขียว ไดอะตอม สเตนเตอร์ แกมน้ำเงิน ยูกลีนา เ บ สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีเขียว ไดอะตอน สเตเตอร์ แกมน้ำเงิน ยูกลีนา อบา พารามีเซียม หนอนตัวกลม กุ้งฝอย ตัวอ่อนแมลงปอ แมลงนํ้า กลุ่มที่สุ่มได้ 1,3,5,7,8,11,14 พารามีเซียม หนอนตัวกลม กุ้งฝอย ตัวอ่อนแมลงปอ แมลงน่า กลุ่มที่สุ่มได้ 1,2,3,6,8,10,15 นิ ลง งมีชีวิต จำนวน (n) n/N (n/N)2 n(n-1) ชนิดของสิ่งมีชีวิต จำนวน (n) n/N (n/N)2 n(n-1) สาหร่ายสีเขียวแกม เงิน 9 0.16 0.0256 72 สาหร่ายสีเขียวแกมนํ้าเงิน 37 0.61 0.3321 1332 สาหร่ายสีเขียว 7 0.12 0.0144 42 สาหร่ายสีเขียว 8 0.13 0.0169 56 ไล aa b 0.10 0.0100 30 1 0.02 0.0004 0 4 0.01 0.0049 12 ต เต 1 0.02 0.0004 0 ก 0 0 0 0 2 0.03 0.0009 2 alan 10 0.17 0.0299 3 90 0.05 0.0025 b พารามีเซียม 0 0 0 0 พารามีเซียม 0.07 0.0049 12 หนอนตัวกลม 0 0 0 0 นอนตัวกลม 1 0.02 0.0004 0 กุ้งฝอย 8 0.14 0.0196 56 กุ้งฝอย 2 0.03 0.0009 2 วอนแมลงป 8 0.14 0.0196 5b อนแมลงปอ 1 0.02 0.0004 0 แมลงน้ำ b 0.10 0.0100 30 แมลงน้ำ 0 0 0 0 รวม 58 1 รวม 60 1 คำนวน D แบบที่ 1 D = E()=0.0256 +0.0144 + 0.0100+ 0.0049+0.00289+ 0.0196+ 0.0196+ 0.0100 = 0.1330 คำนวน D แบบที่ 2 คํานวน D แบบที่ 1 = D= 0.3721+0.0169+0.0004+0.0004+ 0.0009+0.0025+ 0.0049+0.0004 + 0.0009+0.004 = 0.3994 คำนวน D แบบที่ 2 D = En(n-1) N(N-1) 92+42 + 30 +12+90 + 56 + 56 + 30 58 (58-1) 388 = 0.1174 3306 D = En(n-1) N(N-1) 1332+56+ 2 + 6 + 12 + 2 60 (60-1) 1410 3540 = 0.3993 Simpson's Index of Diversity (1-0) Simpson's Reciprocal Diversity (1/0) Simpson's Index of Diversity (1-0) Simpson's Reciprocal Diversity (1/0) เนลงนา D₁ 02 D₁ Dz บ่อที่ 2 1-0.3494 0.60061-0.3983 0.6017 1/0.3494 2.5038 1/ 0.3153 2.5107 เนลงนา อที่ 1 D₁ 07 01 Dz 1- 0.1330 = 0.96901-0.1174 - 0.5526 1/0.1330 - 9.519s 1/0.1174-99199 ดังนั้น บ่อที่ 2 มีความหลากหลายทางชีวภาพมากกว่าบ่อที่ 1 เพราะบ่อที่ 2 มีค่า Simpson's Index มากกว่า 2
Comment
Log in to commentRecommended
Sejarah Browsing
Recommended
Undergraduate
ชีววิทยา
แนะนำหนังสือชีวะหน่อยค่ะ
Undergraduate
ชีววิทยา
การแบ่งเซลล์ระยะใด และกลไกใดที่ทำให้สิ่งมีชีวิตบนโลกมีความหลากหลายทางพันธุกรรมคะ #ขอบคุณล่วงหน้าด้วยค่ะ
Undergraduate
ชีววิทยา
พอดีอยู่บ้านว่างๆอยากอ่านหนังสือรอ จะเรียนเรื่องชีวเคมี ชีววิทยาของเซลล์ การเพาะเลี้ยงเนื่อเยื่อพืช ช่วยแนะนำเว็บหรือหนังสือดีๆ หน่อยค่ะ แต่ละเรื่องควรอ่านเนื้อหาแบบไหนประมาณไหนรอดีคะ😁🙏
Undergraduate
ชีววิทยา
🙏ช่วยหน่อยนะงับ
Undergraduate
ชีววิทยา
ช่วยแนะนำหนังสือนิเวศวิทยากับพฤกษศาสตร์หน่อยค่ะ
Undergraduate
ชีววิทยา
ช่วยอธิบายตรงนี้ให้หน่อยค่ะ
Undergraduate
ชีววิทยา
มีใครพอรู้จักหนังสือแบบฝึกหัดดีๆของวิชาชีวะบ้างไมคะเป็น textbook ก็ได้ค่ะ
Undergraduate
ชีววิทยา
ช่วยแปลหัวข้อพวกนี้เป็นภาษาไทย เข้าใจง่ายๆให้หน่อยจะเอาไปอ่านเตรียมตัวเรียน
Undergraduate
ชีววิทยา
สาขาชีวะวิืทยามีกี่ สาขาค่ะ
Undergraduate
ชีววิทยา
ของมศวไหมเอ่ยย
พอมีแนวข้อสอบไหมคะปลายภาค
ขอไฟล์สรุปหน่อยได้มั้ยคะ ถ้าไม่ได้ก็ไม่เป็นไรค่ะ