ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

20 4. จงระบุว่า สารใดบ้างที่มีสมบัติเป็นเบส HO-CHy CHy-CHz NH2 HO- CHy-CHy NH-CH3 สาร S สาร T สาร U 5. สารใดต่อไปนี้มีสมบัติกรด-เบสเช่นเดียวกับกรดแอมิโน CHง NH CH) -NH2 .CH) 'CH HyCา 1. เCH2 -N. CH2 O= "CH, เCH2 HC เCH) HC. "CH2 "CH2 HO HOOCา สาร X สาร Y สาร Z 6. โดยปกติการล้างคราบไขมันออกจากพื้นผิวของภาชนะแก้วทำได้ง่ายกว่าภาชนะพลาสติกนักเรียนคิดว่า พลาสติกและแก้วเป็นสารมีขั้วหรือไม่มีขั้ว เพราะเหตุใด 7. เมื่อนำกล่องโฟมบรรจุอาหารมาใส่อาหารผัดหรือทอด พบว่ามีรูรั่วเกิดขึ้น นักเรียนคิดว่ากล่องโฟมผลิต ขึ้นมาจากสารมีขั้วหรือไม่มีขั้ว และจะอธิบายเหตุการณ์ดังกล่าวโดยใช้หลักการ like dissolves like ได้อย่างไร 8. พอสิไวนิลคลอไรด์สามารถนำมาริไซเคิลได้ พอลิไวนิลคลอไรด์มีโครงสร้างแบบใดได้บ้าง พร้อมวาด ภาพประกอบ. 9. โครงสร้างของพอลิเมอร์ A และ B เป็นดังนี้ พอลิเมอร์ทั้งสองชนิดสามารถนำมาผลิตเป็นเส้นใย สำหรับผลิตผ้าได้ ผ้าที่ทำจากพอลิเมอร์ใดดูดซับน้ำได้ดีกว่า เพราะเหตุใด HO-CH2 HO-CH2 HO-C-Q HO-C-CH2 CH-0-CH CH-0 -HC () HC=CH 0 HC-CH || HC-CH -0-CHy-CHy-0-C- -4 3 OH OH OH OH HC-CH พอลิเมอร์ A พอลิเมอร์ B

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

4. แรงยึดเหี่ยวซึ่งเกิดขึ้นระหว่างโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ได้แก่แรงชนิดใดบ้าง และแรงต่าง ๆ มีลักษณะ อย่างไร 5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกเขียนเครื่องหมาย / หรือข้อใดผิดเขียนเครื่องหมาย X สาเหตุที่ทำให้จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารประกอบโคเวเลนซ์ต่ำ เพราะ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง โมเลกุลต่ำ สารประกอบโคเวเลนต์นำไฟฟ้าในสถานะแก๊สเท่านั้น สารประกอบโคเวเลนต์มีทิศทางของพันธะไม่แน่นอน แต่มีรูปร่างโมเลกุลแน่นอน การเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบโคเวเลนต์จะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ สารประกอบโคเวเลนต์ส่วนใหญ่ละลายน้ำได้น้อย สารโคเวเลนต์ไม่มีขั้ว จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำ ๆ เพราะโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงลอนดอน อย่างเดียวเท่านั้น โครงสร้างเป็นโครงผลึกร่างตาข่าย เช่น เพชร แกรไฟต์ จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ สอบถามผู้รู้ค่ะ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

วิชาเคมีม.6ค่า เป็นพรีเทสช่วยหาคำตอบที่ถูกหน่อยค่ะ😢

ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง " O แอลกอฮอล์มีสูตรโครงสร้างทั่วไปเป็น R-OH โดยที่ R เป็นส่วนที่ไม่มีขั้วและOHเป็นส่วนที่มีขั้ว O แอลกอฮอล์ที่มีจานวนคาร์บอนมากกว่าจะมีจุดเดือดสูงกว่าเนื่องจากแอลกอฮอล์ที่มีโมเลกุล ขนาดใหญ่มีพันธะไฮโดรเจนที่แข็งแรงกว่า O แอลกอฮอล์โมเลกุลใหญ่ละลายน้ำได้น้อยกว่าเนื่องจากส่วนที่ไม่มีขั้วมีขนาดใหญ่กว่าส่วนที่มีขั้ว 0 แอลกอฮอล์ที่มีจำนวนอะตอมของคาร์บอนเท่ากับแอลเคนจะมีจุดเดือดสูงกว่า เพราะแอลกอฮอล์ เกิดพันธะไฮโดรเจนได้ ข้อใดไม่ใช่สมบัติของสารประกอบที่มีสูตรโครงสร้าง ดังนี้ CH3CH=CHCH2CH2OH ฟอกจางสีสารละลาย Br2 ใน CCI4 ได้ O ทำปฏิกิริยากับโลหะโซเดียม ได้แก๊สไม่มีสี 0 ฟอกจางสีสารละลาย KMทO4 ใน H2S04 ได้ O ทำปฏิกิริยากับสารละลาย NaHC03 ได้แก๊สไม่มีสี - -

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/4