ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

สังคมศึกษา มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่าาาา

....... ใบงานที่ วิชา ชั้น ม.1 ห้อง....….... เลขที่........ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง ลักษณะภูมิอากาศของทวีปเอเชีย 5.1 ม.1/1 วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย โดยใช้เครื่องมือ ทางภูมิศาสตร์ บค้นข้อมูล คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความลักษณะภูมิอากาศในทวีปเอเชีย แล้วเต็มชื่อเขตภูมิอากาศลงในช่องว่าง ลักษณะภูมิอากาศ 1. อากาศหนาวเย็นเกือบตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ย 2 C ฤดูหนาวอุณหภูมิสูงสุดมีค่า ต่ำกว่า -3 C ได้แก่ ดินแดนรัสเซีย 2. ฤดูร้อนมีความชื้นจากพายุฤดูหนาวอากาศเย็น อุณหภูมิเฉลี่ย 5 C ได้แก่ ทิศ ตะวันออกของจีน คาบสมุทรเกาหลี และตอนบนของญี่ปุ่น 3. ฤดูร้อนอากศร้อนและแล้ง ฤดูหนาวอากาศอบอุ่น อุณหภูมิเฉลี่ย 17 C ได้แก่ ดินแดนที่ติดต่อกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เช่น อิสราเอล ซีเรีย ตุรกี 4. กลางวันอุณหภูมิเฉลี่ย 13 C กลางคืนอุณหภูมิต่ำกว่า OC ได้แก่ บริเวณ เติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน และคาซัคสถาน 5. อุณหภูมิสูงตลอดปี เฉลี่ยเกิน 27 C เช่น อินโดนีเซีย บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์ เกาะมินดาเนาของฟิลิปปินส์ 6. มีลมมรสุมพัดผ่าน มีปริมาณฝนตกเฉลี่ยต่อปีมากกว่า 2,500 มิลลิเมตร ได้แก่ อินเดีย บังกลาเทศ เมียนมา ภาคใต้และภาคตะวันออกของไทย และเวียดนามกลาง 7. มีความชื้นจากพายุหมุนเขตร้อน มีฝนตกชุก อุณหภูมิเฉลี่ย 18 ·C ได้แก่ บริเวณ ตะวันตกของจีน และตอนใต้ของญี่ปุ่น 8. อุณหภูมิของอากาศลดลงตามความสูงของพื้นที่ บริเวณที่พบ เช่น เทือกเขา หิมาลัย ที่ราบสูงทิเบต 9. มีฤดูร้อนและฤดูแล้งสลับกันอย่างเห็นได้ชัด ฤดูฝนฝนตกในช่วงลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้ ส่วนฤดูหนาวอากาศแห้งแล้ง ได้แก่ พื้นที่ส่วนของคาบสมุทรอินเดียและ คาบสมุทรอินโดจีน 10. อุณหภูมิต่ำตลอดปี ได้แก่ บริเวณตอนเหนือของรัสเซีย พืชสามารถขึ้นได้ในฤดู ร้อน ได้แก่ มอสและไลเคน เขตภูมิอากาศ 17 .... N

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 2
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

ช่วยแสดงวิธีทำข้อนี้หน่อยค่ะ ไม่ค่อยแน่ใจการหาเลย

คำสั่ง 1. แบบทดสอบ บทที่ 2 วิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ ให้นักเรียนเขียนคำตอบลงในกระดาษเปล่าที่เป็นกระดาษคำตอบที่แจกให้ 2. ให้เขียน ชื่อ-สกุล ชั้น ห้อง, เลขที่ ไว้ หัวกระดาษมุมด้านขวา 3. ห้าม ขีด เขียน หรือทด ลงในกระดาษคำถามแผ่นนี้ " 1. จากบทความ “จากการรายงานของสานักงานสถิติแห่งชาติ เกี่ยวกับการลงทุนของชาวต่างชาติ ตั้งแต่ เดือนมกราคม พ.ศ. 2539 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2539 ปรากฏว่าเป็นการลงทุนจากประเทศสหรัฐอเมริกา 6,900 ล้านบาท จากประเทศเกาหลีใต้ 350 ล้านบาท จากประเทศญี่ปุ่น 530 ล้านบาท และจากประเทศ สิงคโปร์ 160 ล้านบาท...” ให้นักเรียนนำเสนอในรูปของตารางความถี่ ความถี่สัมพัทธ์ และ แผนภูมิรูปวงกลม พร้อมแสดงวิธีคํานวณ ประกอบ ( 4 คะแนน) 2. จากตารางข้างล่างนี้ ให้นักเรียน นำข้อมูลที่ได้ไปสร้าง แผนภูมิแท่งพหุคูณ หรือ แผนภูมิแท่งส่วนประกอบ แสดงการย้ายถิ่นของประชากร พ.ศ. 2549 โดยให้สร้างเพียง 1 แผนภูมิเท่านั้น (สามารถใช้ค่าประมาณได้ และแสดงตัวอย่างการคำนวณ 1 กลุ่ม หรือ 1 แท่งประกอบ) 6 คะแนน ภาคที่อยู่ปัจจุบัน รวม ยอดรวม 1,062,155 กรุงเทพมหานคร 93,241 249,931 กลาง ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต้ 181,596 กรุงเทพมหานคร 440,641 80,736 77,873 474,883 256.754 กลาง 234 754 20,200 70,941 ภาคที่อยู่ก่อนย้าย เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ 95,179 183,474 50,031 58,077 ได้ ประเทศ 19,124 46,933 5,617 1,367 43,311 111.676 8,677 5,531 130,095 24,986 12,413 6.447 14,721 29,290 33,758 62,505 25,278 14,318 7.758 12,451 แหล่งที่มา : การสำรวจการย้ายถิ่นของประชากร พ.ศ. 2543 สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2,699

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/14