ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยงับ5ข้อ

คำชี้แจง ให้นักเรียนลอกโจทย์และแสดงวิธีคิดทุกข้อ 1. จงเขียนผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฎิกิริยาที่กําหนดให้ CH₂CH=CHCH₂CH3 + KMnO4 + H₂O 2. สาร B มีสูตรโมเลกุล C,H, เมื่อนำไปทำปฏิกิริยากับ Br/CCI, เมื่อมี AIBr; เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จงเขียนปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น 3. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน 2 ชนิด คือ สาร A และ B มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันเป็น C,H, สาร A สามารถฟอกจางสี สารละลายด่างทับทิม แต่สาร B ไม่ฟอกจางสีสารละลายด่างทับทิม จากสมบัติดังกล่าวจงหาสูตรโครงสร้างของสาร A และ B 4. จากการเผาไหม้สาร 3 ชนิด คือ C,H, C,H, C,H,, และ CH สารประกอบใดเกิดเขม่ามากที่สุด 10 12 5. ในกลุ่มของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตรทั่วไปร่วมกัน ถ้าเพิ่มจำนวนอะตอมของคาร์บอนขึ้นเรื่อย ๆ สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนจะมีสถานะตามลำดับอย่างไร 6. การทดลองต่อไปนี้ให้ผลเมื่อทดลองกับไฮโดรคาร์บอน 1. จุดติดไฟ 2. ทำปฏิกิริยากับสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO,) 3. ฟอกสีโบรมีนในคาร์บอนเตตระคลอไรด์ โดยไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส จากการทดลองที่กำหนดให้นักเรียนคิดว่าสารประกอบไฮโดรคาร์บอนควรมีสูตรทั่วไปว่าอย่างไร 7. เมื่อเขียนสมการแสดงการเผาไหม้ของเพนเทนในออกซิเจน จงหาผลบวกของตัวเลขสัมประสิทธิ์ของสมการที่ดุลแล้ว 8. จากสูตรโมเลกุล C,H, O เป็นสารประกอบอะไรได้บ้าง 9. จงหาสูตรโมเลกุลของ X Y และ Z เมื่อเกิดปฏิกิริยาดังสมการ X + Br₂ C₂H,Br + HBr C5H₁0Br2 6CO₂ + 6H₂O Y + Br₂ Z +90₂ 10. จงอ่านชื่อของสารประกอบที่กำหนดให้ด้วยระบบ IUPAC H H-C-H HHH H T T H H-C C-C C T 1 H H H H-C-HH-C-H C H C-H H H

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ🥺

ใช้ตารางต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 6-7 สาร A B C D การละลาย ไม่ละลาย ไม่ละลาย ไม่ละลาย ละลาย การทำปฏิกิริยา การเผาไหม้ กับสารละลาย Bra ในที่มืด ไม่เปลี่ยนสี เปลี่ยนเป็นไม่มีสี ไม่เปลี่ยนสี ติดไฟสว่างไม่ มีเขม่า ติดไฟสว่างมี เขม่า ติดไฟมีควัน และเขม่ามาก ติดไฟและไม่มี เขม่า 6. สารใดน่าจะมีสูตรทั่วไปเป็น CH2+2 n. A ข. B 7. ข้อใดสรุปผลการทดลองนี้ถูกต้อง 9.สารประกอบต่อไปนี้ 1. เฮกเซน สารประกอบข้อใด 5. สาร A มีอัตราส่วนโดยอะตอมของ C: H ต่ำที่สุด C. สาร B เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว ไม่เปลี่ยนสี 4. สาร C เป็นสารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนได้ เช่น เบนซีน ก. ข้อ a c และ d ข. ข้อ b c และ d ก. ข้อ 1 และ 2 ข. C6H10 การทำปฏิกิริยา กับสารละลาย Br ในที่มืด เปลี่ยนเป็นไม่มีสี เปลี่ยนเป็นไม่มีสี ไม่เปลี่ยนสี ไม่เปลี่ยนสี ค. C 2. สาร D ไม่น่าจะเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แต่เป็นสารอินทรีพวกกรดอินทรีย์ 8. สารประกอบในข้อใด เมื่อเกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้แล้วเกิดเขม่ามากที่สุด n. C6H6 ค. C6H12 2. เฮกซีน ก. ข้อ 1 และ 5 ข. ข้อ 3 และ 4 10. สารใดที่ไม่ทำปฏิกิริยากับ C, ในที่มืด แต่ทำปฏิกิริยาได้เมื่อมีแสงสว่าง 1. C₂H₂ 2. C2Ha 3. C2H6 การทำปฏิกิริยากับ สารละลาย KMnO ใน H₂SO4 ไม่เปลี่ยนแปลงทั้งน้ำร้อน น้ำเย็น ได้ตะกอนสีนําตาล ค. ข้อ a,b และ ง ชันของ KMnO แยก ออกมาและไม่เปลี่ยนสี ไม่เปลี่ยนแปลง 3. ไซโคลเอกชน 4. เบนซีน ที่มีสมบัติฟอกจางสีสารละลายโบรมีนในทั้งในที่มืด ที่สว่าง และฟอกจางสีสารละลาย KMnO ด้วย ข. ข้อ 2 และ 3 ค. ข้อ 3 และ 4 ง. ข้อ1, 2 และ 3 4. C₂H4Cl₂ ง. D ค. ข้อ 2 และ 3 ง. ข้อ 4 และ 5 ง. C6H14 ง. ข้อ ข และ ค. 5. C₂H₂Cl₂

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ

#Staysafe AIS เ 08:24 ส่วนที่ไม่มีชื่อ สารละลาย NaOH เข้มข้น 10 % โดยมวล มีความหนาแน่น 1.2 g/mL เมื่อนำ สารละลายมาจำนวน 100 mL ผสมกับน้ำเพื่อให้สารละลาย NaOH มีความเข้มข้น 0.1 mol/L จะต้องใช้น้ำในการผสมครั้งนี้จำนวนกี่ mL มวลอะตอม Na = 23 , H = 1 ,0 = 16 คำตอบของคุณ สารละลาย H2CO3 เข้มข้น 2.0 mol/L จำนวน 400 mL ทำให้เป็นหน่วย ร้อยละ โดยมวล จะมีค่าเท่าไร ให้สารละลายมีความหนาแน่น 1.55 g/mL มวลอะตอม = 1,C = 12 , O = 16 คำตอบของคุณ ต้องนำสารละลายอะลูมิเนียมไนเตรต [AI(NO3)3] เข้มข้น 0.2 mol/L จำนวนกี่ mL จึงจะทำให้มี จำนวน NO3- เท่ากับจำนวน NO3- จากสารละลายแคลเซียมไน เตรต [Ca(NO3)2] เข้มข้น 1.2 mol/L จำนวน 600 mL คำตอบของคุณ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งมวล 4.5 g ละลายในเบนซีน 100 g พบว่า สารละลายมีจุดเยือกแข็ง 3.5 0C ส่วนเบนซีนบริสุทธิ์มีจุดเยือกแข็ง 5.5 0C และ มีค่าคงที่ของการลดลงของจุดเยือกแข็งเป็น 5.0oC/m สูตรโมเลกุลของ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนนี้ควรเป็นอย่างไร C8H16 C8H12 C3H6 C5H6

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

20 4. จงระบุว่า สารใดบ้างที่มีสมบัติเป็นเบส HO-CHy CHy-CHz NH2 HO- CHy-CHy NH-CH3 สาร S สาร T สาร U 5. สารใดต่อไปนี้มีสมบัติกรด-เบสเช่นเดียวกับกรดแอมิโน CHง NH CH) -NH2 .CH) 'CH HyCา 1. เCH2 -N. CH2 O= "CH, เCH2 HC เCH) HC. "CH2 "CH2 HO HOOCา สาร X สาร Y สาร Z 6. โดยปกติการล้างคราบไขมันออกจากพื้นผิวของภาชนะแก้วทำได้ง่ายกว่าภาชนะพลาสติกนักเรียนคิดว่า พลาสติกและแก้วเป็นสารมีขั้วหรือไม่มีขั้ว เพราะเหตุใด 7. เมื่อนำกล่องโฟมบรรจุอาหารมาใส่อาหารผัดหรือทอด พบว่ามีรูรั่วเกิดขึ้น นักเรียนคิดว่ากล่องโฟมผลิต ขึ้นมาจากสารมีขั้วหรือไม่มีขั้ว และจะอธิบายเหตุการณ์ดังกล่าวโดยใช้หลักการ like dissolves like ได้อย่างไร 8. พอสิไวนิลคลอไรด์สามารถนำมาริไซเคิลได้ พอลิไวนิลคลอไรด์มีโครงสร้างแบบใดได้บ้าง พร้อมวาด ภาพประกอบ. 9. โครงสร้างของพอลิเมอร์ A และ B เป็นดังนี้ พอลิเมอร์ทั้งสองชนิดสามารถนำมาผลิตเป็นเส้นใย สำหรับผลิตผ้าได้ ผ้าที่ทำจากพอลิเมอร์ใดดูดซับน้ำได้ดีกว่า เพราะเหตุใด HO-CH2 HO-CH2 HO-C-Q HO-C-CH2 CH-0-CH CH-0 -HC () HC=CH 0 HC-CH || HC-CH -0-CHy-CHy-0-C- -4 3 OH OH OH OH HC-CH พอลิเมอร์ A พอลิเมอร์ B

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/3