ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มหาวิทยาลัย

สามารถนำพลังงานที่ได้มาจากไหนหรอคะ🥹

3. จงอภิปรายว่าผลิตภัณฑ์ แอล-คาร์นิทีน 500 mg 1 กล่อง น้ำหนัก 3.5 กรัม ให้พลังงาน 10 กิโลแคลอรี่ได้อย่างไร ในเมื่อฉลากสินค้าระบุว่า ไม่มีน้ำตาล ไม่มีโปรตีน ไม่มีไขมัน OPEN แอล-คาร์นิทีน ฟูมาเรท 500 มก. คุณค่าทางโภชนาการต่อ 1 ช่อง พลังงาน uhana ไขมัน ชเทียม 0 0 10 กรัม nšu มิลลิกรัม 0% 0% +1% "คิดเป็นร้อยละของปริมาณสูงสุดที่บริโภคได้ต่อวัน 10 nienacs *1% ข้อมูลโภชนาการ หนึ่งหน่วยบริโภค: 3.5 กรัม จำนวนหน่วยบริโภคต่อฟา: 1 พลังงานทั้งหมด 10 กิโลแคลอรี (พลังงานจากไขมัน 0 กิโลแคลอรี่) *ร้อยละของปริมาณสารอาหารที่แนะนำให้บริโภคต่อวัน สำหรับคนไทยอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป (Thai RDI) โดยคิดจาก ความต้องการพลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี่ คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน ไขมันทั้งหมด 0 ก. ไขมันอิ่มตัว 0 ก. โคเลสเตอรอล 0 มก. โปรตีน 0 ก. คาร์โบไฮเดรตทั้งหมด 3 ก. ใยอาหาร 0 ก. น้ำตาล 0 ก. โซเดียม 10 มก. ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน* 0% 0% 0% • วิตามินเอ • วิตามินบี 2 • เหล็ก • วิตามินบี 1 • แคลเซียม • วิตามินซี เครื่องดื่มผงกลิ่นแอปเปิ้ลผสมแอลคาร์นิทีน (ตรา เฟรชโดส เพรสแอนด์เชค) ส่วนประกอบที่สำคัญใน 1 หน่วย ประกอบด้วย: แอล-คานีทีน 500 มก. สารสกัดจากแอปเปิ้ล 200 มก. สารสกัดจากชาเขียว 20 มก., อินูลิน 1,344 บก., วัตถุให้ความหวาน แทนน้ำตาล (ซูคราโลส), สารเพิ่มปริมาณ (INS414, เด็กซ์โตรสโมโนไฮเดรต), สารควบคุมความเป็นกรด (INS330, INS331 (ii)), สีสังเคราะห์ (INS143), แต่งกลิ่นธรรมชาติ 0% 0% 0% 1% 0% 1% 0% 0% 0%

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยทีครับ ขอบคุณครับ

แบบทดสอบ เรื่อง คาน คสล. คำสั่ง จงออกแบบคาน B1 มีความยาว 5.00 m โดยกำหนดรายละเอียดดังนี้ 1. น้ำหนักพื้น ผนังและน้ำหนักบรรทุกจรถ่ายลงคาน วิธีทํา f'c (ksc) 170 R1 fc (ksc) 64 1. กําหนดหน้าตัดคาน น้ำหนักคาน M max. Mc รวมน้ำหนักที่กระทำต่อคาน (w) 2. คำนวณหาโมเมนต์ As Mc = ดังนั้น เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ท้องคาน 3. คำนวณแรงเฉือน n 10 fs (ksc) 1,200 1,500 1,700 w kg/m 5.00 m = 952 kg/m (ไม่รวมน้ำหนักคาน) k 2 0.35 0.30 0.27 m j 0.88 0.90 0.91 kg/m - (w*d) kg*m Mmax, เสริมเหล็กรับแรง ksc 4.1 แรงเฉือนสูงสุดจะเกิดที่ระยะ d ห่างจากขอบฐานที่รองรับ WL แรงเฉือนที่เกิดขึ้น V cm 2 R2 kg/m R (ksc) 9.86 8.64 7.86 g ....

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

ช่วยหาคำตอบหน่อยค่ะ🙏

Cir 3.ปัจจัย L1C กรุง 00 200 มากสุข ตสาหกร is other การปฏิวัติ หiko วิ mo 1.การกระทำในข้อใดอาจไม่ใช่การก่อการร้าย ใบงาน เหตุการณ์สำคัญในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ก. การจี้เครื่องบินของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์พุ่งชนตึกเพนตากอน ค. การวางระเบิดรถรับส่งนักเรียน 2.กระบวนการก่อการร้ายแตกต่างจากสงครามกองโจรอย่างไร ข. อาวุธที่ใช้ปฏิบัติการ ก. ลักษณะการปฏิบัติการ 3. ข้อใดไม่ใช่จุดประสงค์หลักของการก่อการร้าย ก. ความต้องการด้านการเงิน ค. เรียกร้องความสนใจ ทรง ข.เครื่องบินโดยสาร 6. คู่กรณีของ เหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 คือข้อใด ก. ขบวนการอัล เคดา สหรัฐอเมริกา ข. การลอบสังหารผู้นำปาเลสไตน์ ง. การลอบเผาโรงเรียนในจังหวัดชายแดนใต้ ค. จำนวนคนที่ใช้ปฏิบัติการ 4. เพราะเหตุใดไทยจึงต้องให้ความร่วมมือในการต่อต้านขบวนการก่อการร้ายสากล ก. เพื่อให้ความช่วยเหลือนานาประเทศที่ประสบปัญหาการก่อการร้าย ค.อิรักครอบครองและซุกซ่อนอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง ข. แสดงความไม่พอใจในสิ่งที่ตนเผชิญอยู่ ง. ข. เพื่อสร้างแนวร่วมป้องกันการก่อการร้ายข้ามชาติ 1. เพื่อตอบโต้ขบวนการก่อการร้ายภายในประเทศที่มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ง. เพื่อต้องการความช่วยเหลือในการป้องกันการก่อการร้าย 5. เหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ผู้ก่อการร้ายใช้สิ่งใดในการปฏิบัติการ ก. ระเบิดพลีชีพ 4. เครื่องบินรบ 3. ขีปนาวุธ สร้างความกลัว ง. เป้าหมายในการปฏิบัติการ ข. ขบวนการตาลีบัน สหรัฐอเมริกา ง. ขบวนการพิแอลโอ สหรัฐอเมริกา ค. ขบวนการเจไอ สหรัฐอเมริกา 7. สหรัฐอเมริกาเชื่อว่าบุคคลใดอยู่เบื้องหลังเหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ค.นายร็อบบี้ แมร์ กาบาเนา ก. นายซัดดัม ฮุสเซน ข.นายโอซามะ บินลาเดน 8.เหตุผลในข้อใดที่ทำให้ผู้ก่อการร้ายปฏิบัติการในเหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ก. นโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาที่ไม่เป็นมิตรต่อโลกอาหรับ ข.นโยบายของสหรัฐที่การปราบปรามขบวนการก่อการร้ายทั่วโลก ค.นโยบายของสหรัฐในการสกัดกั้นการพัฒนาและสะสมอาวุธนิเคลียร์ ง.นโยบายของสหรัฐในการสนับสนุนอิสราเอลทำสงครามกับปาเลสไตน์ 9.เหตุการณ์ก่อวินาศกรรม 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ใครเป็นผู้นำของสหรัฐอเมริกา ค.นายจิมมี คาร์เตอร์ ก.) นายจอร์จ ดัลเบิลยู บุช ข. นายโรนัล เรแกน 10. เหตุการณ์ในข้อใดเป็นอิทธิพลที่ได้รับจากการก่อการร้ายเหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ก. เหตุการณ์สังหารหมู่ในเดนมาร์ก การก่อวินาศกรรมในเกาะบาหลี ค. การระเบิดรถใต้ดินในกรุงลอนดอน 11. เหตุผลประการหนึ่งที่สหรัฐอเมริกาใช้กล่าวหาอิรักเพื่อจะใช้กองกำลังทหารกับอิรักคือข้อใด ก. อิรักมีกองกำลังทหารและสะสมอาวุธทันสมัยเพื่อใช้ทำลายโลก ข. อิรักสนับสนุนด้านกำลังทหารแก่ปาเลสไตน์ในการทำสงครามกับอิสราเอล ง. เป็นผู้นำในการปฏิบัติการตามมติของสหประชาชาติในการสร้างสันติภาพแก่โลก 12. ภาวะโลกร้อน มีสาเหตุพื้นฐานของปัญหามาจากตัวกระทำในข้อใด ก. ก๊าซเรือนกระจก ง. นายบิล คลินตัน ง. การทำลายเรือสินค้าของสหรัฐอเมริกาที่ช่องแคบโมซัมบิก ง.นายอาบีมาเอล กุซมัน ข. ธารน้ำแข็งบริเวณขั้วโลก ค. รังสีอัลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ ง.การใช้สารCFC ในโรงงานอุตสาหกรรม kanokwan kaisakaew 13. ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุโดยตรงของการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศของโลก ก. การทับถมของขยะมูลฝอย ข. การถางป่าเป็นบริเวณกว้าง ค... การสลายตัวของปุ๋ยเคมีประเภทไนเตรท ง. การย่อยสลายของมูลสัตว์ 14. วิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมของโลกข้อใด มีสาเหตุเกิดจาก ปรากฏการณ์เรือนกระจก โดยตรง ก. ปรากฏการณ์เอลนิโญ 2. ปรากฏการณ์ลานิญา ค.การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม ง. อุณหภูมิของกระแสน้ำอุ่นลดลง 15. เพราะเหตุใดเมื่อราคาน้ำมันสูงขึ้น ค่าครองชีพจึงสูงขึ้นด้วย ก. น้ำมันเป็นต้นทุนในการผลิตสินค้าและบริการ ข. มนุษย์ต้องการใช้ไฟฟ้าซึ่งส่วนใหญ่ผลิตมาจากน้ำมัน

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/23