ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอทำได้บ้างมั้ยคะ ช่วยหน่อยย🥹 อยากได้ก่อนบ่ายโมง🥹

2,000 kg ข้อสอบปลายภาคการศึกษา 1/2566 2. จงหาแรงที่จุดรองรับที่ถูกแรงกระทำกับโครงสร้างดังแสดงในภาพ (40 คะแนน) D 600 55° 7,000 kg 1.4 m 0.4 m สมชายสามารถนำชิ้นส่วนออกได้จริงหรือไม่ B 5 kN C 4 m 4453 เมื่อกล่องมีมวล 100 kg และ a = 1.25 m 3. จงหาแรงที่กระทำที่จุด D และ E และในชิ้นส่วน AB, DB, BC, DE และ BE ของโครงสร้างดังแสดง ในรูปที่ 3 จากนั้นนายสมชายได้แนะนำว่าสามารถเอาชิ้นส่วน BE ออกได้จากคำแนะนำของนาย (40 คะแนน) กลศาสตร์วิศวกรรม 2 m E 10 kN -2m- -4 m AC = CE = 4 m AB = 5 m รูปที่ 3 4.1 รถขนของดังแสดงในรูปที่ 4.1 เมื่อลังมีมวล 20 kg กระทำที่จุดกึ่งกลางของลังจงหาแรง ปฏิกิริยาที่กระทำที่จุดรองรับ A, B และ C 4.2 ระบบส่งกำลังโดยคานหมุนดังแสดงในรูปที่ 4.2 จงหาแรงดึง T และแรงปฏิกิริยาที่กระทำที่ จุดรองรับ C และ D 4.3 แท่งเหล็กมวล 50 kg ยึดโดยสายเคเบิลดังแสดงในรูปที่ 4.3 จงหาแรงดึงในสายเคเบิลทั้ง 3 เส้น (ข้อ 3 เลือกทำ 1 ข้อ) (40 คะแนน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

รบกวนช่วยหน่อยค่ะ แนะเป็นแนวทางก็ได้🥺

1. อุบัติเหตุเกิดขึ้นบนเนินที่มีควาวมชัน 8 = 12° เมื่อรถคัน A ไถลลงมาชนรถ B ซึ่งจอดนิ่งอยู่ห่างออกไปเป็น = ระยะ d = 24 m โดยที่รถ A มีความเร็วต้น 18 m/s ถ้าพื้นถนนมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตเป็น 0.8 และ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์เป็น 0.6 จงหาความเร็วขณะที่รถ A ไปชนรถ B 2. กล่องมวล 3 kg ไถลลงมาตามพื้นเอียงที่มีความยาว 1 m และทำมุม 300 กับพื้นราบ โดยกล่องเริ่มเคลื่อนที่ จากหยุดนิ่ง และ ให้ค่าความเสียดทานคงที่ระหว่างกล่องกับทุกพื้นสัมผัสเป็น 5 N จงหา a) อัตราเร็วของกล่องที่ปลายพื้นเอียง b) ระยะทางที่กล่องเคลื่อนที่ต่อไปบนพื้นราบ h = 5m mu B h d = 1m Vo = 0 m/s 3. ทรงกลมตันมวล M ไถลมาบนพื้นที่ไม่มีความผิด โดยมีอัตราเร็วคงที่ 44 ก่อนตกมาจากโต๊ะที่สูง 5 จากพื้น ถูก กระสุนมวล m ที่มีอัตราเร็ว 42 ยิงเข้าใส่และฝังอยู่ในมวล M จงหาระยะที่ทรงกลมตันเคลื่อนที่ลงมาถึงพื้น (d) Mul 0 = 30° d Mtm

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุป แล้วก็ทำเป็นข้อๆให้หน่อยได้มั้ยคะ🙏🏻

dtac-T.Better Together 13:36 บทบัญญัติที่ 4 : คนตอบสนอ cdn.fbsbx.com 4 44%E เรียบร้อย สนองต่อสิ่งจูงใจ เนื่องจากคนตัดสินใจโดยเปรียบเทียบต้นทุนและผลประโยชน์ ดังนั้น พฤติกรรมของคนจึงเปลี่ยนเมื่อ โครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์เปลี่ยนไป นั่นคือ คนตอบสนองต่อสิ่งจูงใจ นั่นเอง เมื่อราคาแอปเปิลสูงขึ้น คนก็ตัดสินใจซื้อลูกแพร์มากขึ้น ซื้อแอปเปิลน้อยลง เพราะต้นทุนในการได้มาซึ่งแอปเปิลสูงขึ้น ใน ขณะเดียวกัน ชาวสวนแอปเปิลตัดสินใจจ้างคนงานมากขึ้น และปลูกแอปเปิลมากขึ้น เนื่องจาก ผลประโยชน์ จากการขายแอปเปิลสูงขึ้น บทบาทหลักของสิ่งจูงใจในการกำหนดพฤติกรรมมีความสำคัญสำหรับการออกแบบ นโยบายของรัฐ(Public Policy) นโยบายของรัฐมักเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์ของกิจกรรม ภาคเอกชน เมื่อผู้กำหนดนโยบายล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แสดงว่านโยบายรัฐอาจก่อให้เกิดผลที่ ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น ตัวอย่างของผลที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจจากนโยบายของรัฐ เช่น นโยบายว่าด้วยเข็มขัด นิรภัยและระบบป้องกันความปลอดภัยรถยนต์ ในทศวรรษ 1950 รถที่มีเข็มขัดนิรภัยมีจํานวนน้อย ต่างจากใน ปัจจุบันที่รถทุกคันล้วนมีเข็มขัดนิรภัย เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงก็เพราะ "นโยบายของรัฐ" นั่นเอง ในช่วง ปลายทศวรรษ 1960 หนังสือของ Ralph Nader ที่ชื่อ “Unsafe at Any Speed” ก่อให้เกิดกระแสเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของรถยนต์ รัฐสภาสหรัฐอเมริกาออกกฎหมายบังคับให้ผู้ผลิตรถยนต์ต้องสร้างอุปกรณ์รักษาความ ส่ ปลอดภัย ซึ่งหมายถึงรถทุกคันต้องมีอุปกรณ์มาตรฐานอย่างเข็มขัดนิรภัยด้วย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยกระทบ ความปลอดภัยของรถยนต์อย่างไร ? ผลทางตรงในเรื่องนี้ชัดเจนอยู่แล้ว ถ้ามีเข็มขัดนิรภัยในรถทุกคัน คนก็คาด เข็มขัดนิรภัยกันมากขึ้น และโอกาสที่จะรอดจากอุบัติเหตุรถยนต์ที่มีมากขึ้น ในแง่นี้ เข็มขัดนิรภัยช่วยรักษาชีวิต ผลดีทางตรงด้านความปลอดภัยนี้จูงใจให้รัฐสภาออกกฎหมายดังกล่าว แต่การทำความเข้าใจผลทั้งหมดของ กฎหมายต้องตระหนักว่า คนเปลี่ยนพฤติกรรมโดยตอบสนองสิ่งจูงใจที่เขาเผชิญอยู่ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องใน กรณีนี้คือการขับรถเร็วและความระมัดระวังในการขับรถ การขับรถช้าและระมัดระวังมีต้นทุนเพราะสิ้นเปลือง เวลาและพลังงาน เมื่อผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลตัดสินใจว่าจะขับรถอย่างปลอดภัยเพียงใด ก็จะเปรียบเทียบ ผลประโยชน์ส่วนเพิ่มจากการขับรถอย่างปลอดภัยกับต้นทุนส่วนเพิ่ม เขาจะขับรถช้าและระมัดระวังเมื่อ ผลประโยชน์จากการเพิ่มความปลอดภัยสูงกว่า นี่เป็นการอธิบายว่าทำไมคนถึงขับรถช้าและระมัดระวังขณะ ถนนลื่นมากกว่าสภาพถนนปกติ หากเราพิจารณาว่าการออกกฎหมายให้คาดเข็มขัดนิรภัยเปลี่ยนแปลงการ คำนวณต้นทุนและผลประโยชน์ของผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลอย่างไร ? พบว่าเข็มขัดนิรภัยทำให้ผู้ขับขี่รู้สึกว่าอุบัติเหตุ มีต้นทุนต่ำลงเพราะการคาดเข็มขัดนิรภัยช่วยลดความน่าจะเป็นในการบาดเจ็บและล้มตาย ดังนั้น เข็มขัดนิรภัย ลดผลประโยชน์จากการขับรถช้าและระมัดระวังลง ผู้ขับขี่ก็ตอบสนองต่อการใช้เข็มขัดนิรภัยโดยขับรถเร็วขึ้น และลดความระมัดระวังในการขับขี่ลง ผลสุดท้าย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยทำให้จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มสูงขึ้น 5 แล้วกฎหมายกระทบจำนวนคนตายจากการขับขี่อย่างไร ? ผู้ขับขี่ที่คาดเข็มขัดนิรภัยอาจมีโอกาสรอดชีวิตมาก ขึ้นจากอุบัติเหตุแต่ละครั้ง แต่โอกาสเกิดอุบัติเหตุอาจเพิ่มจำนวนมากครั้งขึ้น จำนวนคนตายสุทธิในประเด็นนี้ยัง ไม่ชัดเจน ยิ่งกว่านั้น การที่ผู้ขับขี่เลือกลดความระมัดระวังในการขับขี่ลงส่งผลกระทบทางลบต่อคนเดินถนน (และผู้ขับขี่ที่ไม่ได้คาดเข็มขัดนิรภัย) เพราะโอกาสเกิดอุบัติเหตุของคนเหล่านี้สูงขึ้นและไม่ได้รับการป้องกัน จากเป็นข้อมกัน ดังนั้น จอมมายว่าด้วยเข็มขัดนิรฉันมีแนวโน้มทำให้จำนวนการตายของคนเดินถนนเพิ่มสูงขึ้น 3

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/8