ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอทำได้บ้างมั้ยคะ ช่วยหน่อยย🥹 อยากได้ก่อนบ่ายโมง🥹

2,000 kg ข้อสอบปลายภาคการศึกษา 1/2566 2. จงหาแรงที่จุดรองรับที่ถูกแรงกระทำกับโครงสร้างดังแสดงในภาพ (40 คะแนน) D 600 55° 7,000 kg 1.4 m 0.4 m สมชายสามารถนำชิ้นส่วนออกได้จริงหรือไม่ B 5 kN C 4 m 4453 เมื่อกล่องมีมวล 100 kg และ a = 1.25 m 3. จงหาแรงที่กระทำที่จุด D และ E และในชิ้นส่วน AB, DB, BC, DE และ BE ของโครงสร้างดังแสดง ในรูปที่ 3 จากนั้นนายสมชายได้แนะนำว่าสามารถเอาชิ้นส่วน BE ออกได้จากคำแนะนำของนาย (40 คะแนน) กลศาสตร์วิศวกรรม 2 m E 10 kN -2m- -4 m AC = CE = 4 m AB = 5 m รูปที่ 3 4.1 รถขนของดังแสดงในรูปที่ 4.1 เมื่อลังมีมวล 20 kg กระทำที่จุดกึ่งกลางของลังจงหาแรง ปฏิกิริยาที่กระทำที่จุดรองรับ A, B และ C 4.2 ระบบส่งกำลังโดยคานหมุนดังแสดงในรูปที่ 4.2 จงหาแรงดึง T และแรงปฏิกิริยาที่กระทำที่ จุดรองรับ C และ D 4.3 แท่งเหล็กมวล 50 kg ยึดโดยสายเคเบิลดังแสดงในรูปที่ 4.3 จงหาแรงดึงในสายเคเบิลทั้ง 3 เส้น (ข้อ 3 เลือกทำ 1 ข้อ) (40 คะแนน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

รบกวนช่วยหน่อยค่ะ แนะเป็นแนวทางก็ได้🥺

1. อุบัติเหตุเกิดขึ้นบนเนินที่มีควาวมชัน 8 = 12° เมื่อรถคัน A ไถลลงมาชนรถ B ซึ่งจอดนิ่งอยู่ห่างออกไปเป็น = ระยะ d = 24 m โดยที่รถ A มีความเร็วต้น 18 m/s ถ้าพื้นถนนมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตเป็น 0.8 และ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์เป็น 0.6 จงหาความเร็วขณะที่รถ A ไปชนรถ B 2. กล่องมวล 3 kg ไถลลงมาตามพื้นเอียงที่มีความยาว 1 m และทำมุม 300 กับพื้นราบ โดยกล่องเริ่มเคลื่อนที่ จากหยุดนิ่ง และ ให้ค่าความเสียดทานคงที่ระหว่างกล่องกับทุกพื้นสัมผัสเป็น 5 N จงหา a) อัตราเร็วของกล่องที่ปลายพื้นเอียง b) ระยะทางที่กล่องเคลื่อนที่ต่อไปบนพื้นราบ h = 5m mu B h d = 1m Vo = 0 m/s 3. ทรงกลมตันมวล M ไถลมาบนพื้นที่ไม่มีความผิด โดยมีอัตราเร็วคงที่ 44 ก่อนตกมาจากโต๊ะที่สูง 5 จากพื้น ถูก กระสุนมวล m ที่มีอัตราเร็ว 42 ยิงเข้าใส่และฝังอยู่ในมวล M จงหาระยะที่ทรงกลมตันเคลื่อนที่ลงมาถึงพื้น (d) Mul 0 = 30° d Mtm

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยแก้โจทย์ฟิสิกส์ข้อนี้หน่อยค่าาาา

3.1 รถยนต์คันหนึ่งวิ่งบนทางราบจากจุด A ไปถึง K ดังรูป โดยระยะทางจาก C ถึง Eและ G ถึง เป็นทางโค้ง y (m) รัศมี 200 m และ 300 m 600 ตามลำดับ ถ้ารถยนต์เริ่มต้น E F G จากจุด A ซึ่งอยู่นิ่ง หลังจาก นั้นถูกเร่งอย่างสม่ำเสมอจาก A ไปถึง C แล้วเคลื่อนที่ด้วย อัตราเร็วคงที่ 23 m/s จาก D H 400 C 200 B C ไปถึง หลังจากนั้น A ความเร็วลดลงอย่าง x (m) สม่ำเสมอจนกระทั่งหยุดนิ่งที่ 200 400 600 800 1,000 K จงหา ก. ความเร็วของรถยนต์ที่จุด B ค. ความเร็วของรถยนต์ที่จุด D ข. ความเร่งของรถยนต์ที่จุด B ง. ความเร่งเฉลี่ยระหว่างจุด C และ E

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยแสดงวิธีทำแบบละเอียดตั้งแต่วาดรูปเลยค่ะ

ข้อที่ 1 ยุคนี้เป็นยุคที่เหล็กมีราคาแพง ในภาพรวมราคาเหล็กขึ้นจากเดือนสิงหาคมปีที่แล้วกว่า 70% การออกแบบโครงถักนี้ จะช่วยลดต้นทุนเหล็กได้ จงคำนวณปริมาตรเหล็กทุกชิ้นส่วนในโครงถักในหน่วยลูกบาศก์เมตร เพื่อการออกแบบที่ประหยัดเหล็กที่สุด สำหรับ การออกแบบโครงถักที่ใช้เป็นโครงสร้างคานยาว 24 m รับภาระหนัก 100KN ซึ่งห้อยอยู่บนลวดสลิงที่ปลายด้านขวา ส่วน รองรับทางด้านซ้ายของโครงสร้างนี้ด้านบนเป็นส่วนรองรับแบบธรรมดา และด้านล่างเป็นล้อเหล็ก ส่วนรองรับทั้งสองห่างกัน 3 เมตร การออกแบบให้แนวแกนของชิ้นส่วนอยู่ในหรือบนกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้า 24m x 3m 3 m 24 m 100 kN ข้อกำหนดในการออกแบบ 1. เหล็กกล้าที่ใช้ทำชิ้นส่วนรับภาระดึงและกดได้ไม่เกิน 200 N ต่อตารางมิลลิเมตร 2. ใช้เหล็กกล้าจากเหล็กแผ่นหนา 10 mm มาตัดเป็นโครงถัก (หมายความว่าเราสามารถเอาเหล็กแผ่นมาประกบกันหนา 10, 20, 30, -. mm ได้ด้วยการใช้หมุดยึด เหมือนเอาไม้ไอติมมาทากาวซ้อนกัน) ส่วนความความยาวตัดได้ไม่จำกัดขนาด 3. กำหนดให้หน้าตัดของโครงถักเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 4. ชิ้นส่วนที่รับแรงกด นอกจากไม่เกิน 200 N ต่อตารางมิลลิเมตรแล้ว ยังต้องมีแรงกดไม่เกินภาระโก่งเดาะ (Buckling load, P.) ให้จินตนาการว่าเรากำลังกดปลายไม้โปรแทรกเตอร์ด้วยนิ้วมือขวาและซ้าย เมื่อออกแรงกดถึงค่าหนึ่ง ไม้โปรฯ จะโก่ง ตัวเอง แรงกดค่านี้เรียกว่าภาระโก่งเดาะ สำหรับสูตรหาภาระโก่งเดาะหน้าตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสปลายหมุดลื่นในหน่วยนิวตันเป็น r' (200 x10*)(b* /12) P, = เมื่อ b คือความยาวด้านของหน้าตัดชิ้นส่วนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสในหน่วย m เ คือความยาวของชิ้นส่วนในหน่วย m หมายความว่าถ้าภาระกดในชิ้นส่วนเกินภาระโก่งเดาะ โครงสร้างจะเสียหาย เราจะต้องเพิ่มพื้นที่หน้าตัดของคานจนภาระกดนี้ น้อยกว่าภาระโก่งเดาะ การออกแบบโครงสร้างจึงนำไปใช้ได้ นักศึกษาสามารถออกแบบมากกว่า 1 โครงสร้าง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/2