ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุป แล้วก็ทำเป็นข้อๆให้หน่อยได้มั้ยคะ🙏🏻

dtac-T.Better Together 13:36 บทบัญญัติที่ 4 : คนตอบสนอ cdn.fbsbx.com 4 44%E เรียบร้อย สนองต่อสิ่งจูงใจ เนื่องจากคนตัดสินใจโดยเปรียบเทียบต้นทุนและผลประโยชน์ ดังนั้น พฤติกรรมของคนจึงเปลี่ยนเมื่อ โครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์เปลี่ยนไป นั่นคือ คนตอบสนองต่อสิ่งจูงใจ นั่นเอง เมื่อราคาแอปเปิลสูงขึ้น คนก็ตัดสินใจซื้อลูกแพร์มากขึ้น ซื้อแอปเปิลน้อยลง เพราะต้นทุนในการได้มาซึ่งแอปเปิลสูงขึ้น ใน ขณะเดียวกัน ชาวสวนแอปเปิลตัดสินใจจ้างคนงานมากขึ้น และปลูกแอปเปิลมากขึ้น เนื่องจาก ผลประโยชน์ จากการขายแอปเปิลสูงขึ้น บทบาทหลักของสิ่งจูงใจในการกำหนดพฤติกรรมมีความสำคัญสำหรับการออกแบบ นโยบายของรัฐ(Public Policy) นโยบายของรัฐมักเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์ของกิจกรรม ภาคเอกชน เมื่อผู้กำหนดนโยบายล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แสดงว่านโยบายรัฐอาจก่อให้เกิดผลที่ ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น ตัวอย่างของผลที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจจากนโยบายของรัฐ เช่น นโยบายว่าด้วยเข็มขัด นิรภัยและระบบป้องกันความปลอดภัยรถยนต์ ในทศวรรษ 1950 รถที่มีเข็มขัดนิรภัยมีจํานวนน้อย ต่างจากใน ปัจจุบันที่รถทุกคันล้วนมีเข็มขัดนิรภัย เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงก็เพราะ "นโยบายของรัฐ" นั่นเอง ในช่วง ปลายทศวรรษ 1960 หนังสือของ Ralph Nader ที่ชื่อ “Unsafe at Any Speed” ก่อให้เกิดกระแสเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของรถยนต์ รัฐสภาสหรัฐอเมริกาออกกฎหมายบังคับให้ผู้ผลิตรถยนต์ต้องสร้างอุปกรณ์รักษาความ ส่ ปลอดภัย ซึ่งหมายถึงรถทุกคันต้องมีอุปกรณ์มาตรฐานอย่างเข็มขัดนิรภัยด้วย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยกระทบ ความปลอดภัยของรถยนต์อย่างไร ? ผลทางตรงในเรื่องนี้ชัดเจนอยู่แล้ว ถ้ามีเข็มขัดนิรภัยในรถทุกคัน คนก็คาด เข็มขัดนิรภัยกันมากขึ้น และโอกาสที่จะรอดจากอุบัติเหตุรถยนต์ที่มีมากขึ้น ในแง่นี้ เข็มขัดนิรภัยช่วยรักษาชีวิต ผลดีทางตรงด้านความปลอดภัยนี้จูงใจให้รัฐสภาออกกฎหมายดังกล่าว แต่การทำความเข้าใจผลทั้งหมดของ กฎหมายต้องตระหนักว่า คนเปลี่ยนพฤติกรรมโดยตอบสนองสิ่งจูงใจที่เขาเผชิญอยู่ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องใน กรณีนี้คือการขับรถเร็วและความระมัดระวังในการขับรถ การขับรถช้าและระมัดระวังมีต้นทุนเพราะสิ้นเปลือง เวลาและพลังงาน เมื่อผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลตัดสินใจว่าจะขับรถอย่างปลอดภัยเพียงใด ก็จะเปรียบเทียบ ผลประโยชน์ส่วนเพิ่มจากการขับรถอย่างปลอดภัยกับต้นทุนส่วนเพิ่ม เขาจะขับรถช้าและระมัดระวังเมื่อ ผลประโยชน์จากการเพิ่มความปลอดภัยสูงกว่า นี่เป็นการอธิบายว่าทำไมคนถึงขับรถช้าและระมัดระวังขณะ ถนนลื่นมากกว่าสภาพถนนปกติ หากเราพิจารณาว่าการออกกฎหมายให้คาดเข็มขัดนิรภัยเปลี่ยนแปลงการ คำนวณต้นทุนและผลประโยชน์ของผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลอย่างไร ? พบว่าเข็มขัดนิรภัยทำให้ผู้ขับขี่รู้สึกว่าอุบัติเหตุ มีต้นทุนต่ำลงเพราะการคาดเข็มขัดนิรภัยช่วยลดความน่าจะเป็นในการบาดเจ็บและล้มตาย ดังนั้น เข็มขัดนิรภัย ลดผลประโยชน์จากการขับรถช้าและระมัดระวังลง ผู้ขับขี่ก็ตอบสนองต่อการใช้เข็มขัดนิรภัยโดยขับรถเร็วขึ้น และลดความระมัดระวังในการขับขี่ลง ผลสุดท้าย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยทำให้จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มสูงขึ้น 5 แล้วกฎหมายกระทบจำนวนคนตายจากการขับขี่อย่างไร ? ผู้ขับขี่ที่คาดเข็มขัดนิรภัยอาจมีโอกาสรอดชีวิตมาก ขึ้นจากอุบัติเหตุแต่ละครั้ง แต่โอกาสเกิดอุบัติเหตุอาจเพิ่มจำนวนมากครั้งขึ้น จำนวนคนตายสุทธิในประเด็นนี้ยัง ไม่ชัดเจน ยิ่งกว่านั้น การที่ผู้ขับขี่เลือกลดความระมัดระวังในการขับขี่ลงส่งผลกระทบทางลบต่อคนเดินถนน (และผู้ขับขี่ที่ไม่ได้คาดเข็มขัดนิรภัย) เพราะโอกาสเกิดอุบัติเหตุของคนเหล่านี้สูงขึ้นและไม่ได้รับการป้องกัน จากเป็นข้อมกัน ดังนั้น จอมมายว่าด้วยเข็มขัดนิรฉันมีแนวโน้มทำให้จำนวนการตายของคนเดินถนนเพิ่มสูงขึ้น 3

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ข้อที่ไฮไลต์คือไม่เข้าใจค่ะ ช่วยหน่อยได้ไหมคะ🥲

1. ผู้ปล่อยเงินกู้นอกระบบได้โฆษณาว่า “ได้เงินใช้ทันใจ... กู้ 10,000 บาท จ่ายคืนวันละ 150 บาท 3 เดือน จาก ข้อความข้างต้น ให้คำนวณ หรือเปรียบเทียบจากแต่ละข้อต่อไปนี้ (1) จำนวนเงินที่ต้องจ่ายคืนทั้งหมดเป็นเงินบาท (2) ดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายทั้งหมดเท่ากับเท่าไร กับการขอสินเชื่อส่วนบุคคลจากธนาคารใดธนาคารหนึ่ง (3) เมื่อพิจารณาจากเงินต้น และดอกเบี้ยทั้งหมด นำมาคิดดอกเบี้ยแบบคงที่ จงหาอัตราดอกเบี้ยต่อปี (4) เปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยต่อปีของการในครั้งนี้ (5) จงหาสาเหตุที่ทำให้ยังมีผู้ใช้บริการการให้กู้เงินนอกระบบ 2. มีการโฆษณาสินเชื่อทะเบียนรถซึ่งคิดดอกเบี้ยแบบคงที่ โดยกำหนด “ดอกเบี้ยเริ่มต้น 0.98% ต่อเดือน (เทียบเท่าอัตราดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก 21% ต่อปี)” จากข้อความดังกล่าวนี้จงแสดงวิธีทำในแต่ละข้อต่อไปนี้ (1) จงนำเสนอความรู้ ตัวอย่างเพื่อประกอบการทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเทียบเท่าอัตราดอกเบี้ยทั้งสองแบบ (2) จงหาอัตราส่วนของอัตราดอกเบี้ยแบบคงที่ต่ออัตราดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก 3. นายซื่อสัตย์มีรายได้ประจำเดือนละ 30,000 บาท มีหนี้ที่ต้องผ่อนชำระในช่วงนี้เดือนละ 5,000 บาท เขา ต้องการเปลี่ยนโทรศัพท์ใหม่ซึ่งรุ่นที่สนใจมีราคาประมาณ 35,000 - 40,000 บาท โดยที่ช่วงนี้ยังไม่มีเงิน สำหรับการซื้อ เขาควรพิจารณาประเด็นใดบ้างก่อนการตัดสินใจซื้อ โดยให้พิจารณาความสามารถในการผ่อน ชำระประกอบด้วย (ธนาคารแห่งประเทศไทยแนะนำว่าสัดส่วนการผ่อนชำระหนี้ทั้งหมดในแต่ละเดือน ไม่ควร เกิน 1 ใน 3 ของรายได้ต่อเดือน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยทำแบบฝึกเศรษฐศาสตร์ หน่อยค่าบบบ

4. การค้าระหว่างประเทศนั้นส่งผลดีอย่างไร * (1 คะแนน) ผู้ประกอบการมีการปรับปรุงเทคโนโลยีอยู่เสมอ O ทำให้เกิดการสร้างความถนัดในการผลิต สามารถใช้เป็นเครืองมือต่อรองกับต่างประเทศได้ ถูกทุกข้อ 5. ข้อใดผิดเกี่ยวกับมาตราการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ ภาษี * (1 คะแนน) เป็นมาตราการที่สร้างความยุ่งยากให้ประเทศของ ตนเองส่งออกได้ยากขึ้น เริ่มหันมาใช้ข้อกำหนดทางด้านการเอาเปรียบ แรงงาน และข้อกำหนดทางด้านสิ่งแวดล้อม เป็นมาตรการที่ทำให้สินค้าของประเทศอื่นเข้ามา ขายในประเทศของตนเองได้ยากขึ้น มักจะไม่ใช้การเก็บภาษีนำเข้าโดยตรง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะ เรื่องพฤติกรรมผู้บริโภค

4. กำหนดตารางของ MU ของสินค้า X และสินค้า Y โดยราคาสินค้า X ราคาหน่วยละ 5 บาท และราคาสินค้า Y ราคาหน่วยละ 4 บาท ผู้บริโภคมีงบประมาณ 32 บาท จงอธิบายดุลย ภาพของผู้บริโภค และผู้บริโภคจะได้รับอรรถประโยชน์รวมเท่าใด Q MUX MUy MU/Px MUy/PY 1 40 30 8 7.5 2 35 20 7 5 3 30 16 6 4 4 20 8 4 2 5 10 6 2 1.5 5. กำหนดตารางของ MU ของสินค้า A และสินค้า B โดยสิ้นค้า A ราคาหน่วยละ 8 บาท และ สินค้า B ราคาหน่วยละ 4 บาท ผู้บริโภคมีงบประมาณ 16 บาท จงอธิบายดุลยภาพของ ผู้บริโภค และผู้บริโภคจะได้รับอรรถประโยชน์รวมเท่าใด Q MUA MUB 1 40 30 2 32 20 3 24 16 4 16 8 5 8 6 127 Unที่ 5 nn ษฎี พ 1ตแรรมผู้บริโภค

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0