ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ทำยังไงคะะ ช่วยหน่อยย

U = AH - AH, D - IE, EA U = -404 - (+109) - (+121) - (4502) - (-349) บ = -787 kU/mol พลังงานโครงผลึกของโซเดียมคลอไรด์ = -787 ki/mol (เครื่องหมายลบแสดงว่า คายพลังงาน) นอกจากนั้นเราสามารถหาค่าอื่น ๆ ได้จากสูตรต่อไปนี้ AH, + 0 + E + EA + 0 4 นั่นคือพลังงานที่เปลี่ยนแปลงทั้งหมดเท่ากับผลรวมของพลังงานในแต่ละชั้นตอน แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดลิเทียมฟลูออไรต์ (LF) 1 โมล เป็นดังนี้ Ltg) + Fg) + e Litg) + 1/2F(g) +e 79.5 ี 3 -328 ย 4 520 k. Lig) + 1/2F49) LiKs) + 1/2Fg) 5-1047 ย 161 มี ก. ในชั้น 2 และ 4 เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด และมีชื่อว่าอย่างไร ข. พลังงานแลตทิชของลิเทียมฟลูออไรด์มีค่าเท่าใด - 10 2 ๆ เ) ค. การเกิดสารประกอบลิเทียมฟลูออไรด์เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อนหรือคายความร้อน และมีการ เปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาเป็นเท่าใด ภาผม 3าม -614.5 ง. การเกิดสารประกอบลิเทียมฟลูออไรด์ 1.5 โมล มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเท่าใด สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง 2. ไม่นำไฟฟ้าแต่เมื่อหลอมเหลวหรือละลายน้ำจะนำไฟฟ้าได้ เพราะมีไอออนอิสระ 3. มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง เพราะการหลอมเหลวหรือเดือดต้องทำลายพันธะไอออนิกและพันระไอออนิก -.. .Cl มีจดหลอมเหลว 801C

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ทำยังไงคะ ช่วยหน่อยย

ก. ในขั้น 2 และ 4 เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด และมีชื่อว่าอย่างไร 4 ภาผมงามEA ข. พลังงานแลตทิชของลิเทียมฟลูออไรด์มีค่าเท่าใด - 10 2 ๆ เ) การเกิดสารประกอบลิเทียมฟลูออไรด์เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อนหรือคายความร้อน และมีการ เปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาเป็นเท่าใด -เ14.5 ง. การเกิดสารประกอบลิเทียมฟลูออไรด์ 1.5 โมล มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเท่าใด สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง 2. ไม่นำไฟฟ้าแต่เมือหลอมเหลวหรือละลายน้ำจะนำไฟฟ้าได้ เพราะมีไอออนอิสระ 3. มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง เพราะการหลอมเหลวหรือเดือดต้องทำลายพันธะไอออนิกและพันธะไอออนิก เผ่น ปา บีอดหลอมเหลว 801C

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

อยากได้ตัวอย่างสัก1ข้อครับ

หนา 1 ใบงาน เรื่อง สูตรเคมีและการเรียกชื่อสารโคเวเลนต์ วิชาเคมี ชั้น ม.4 บทที่ 3 พันธะเคมี ชื่อ ชั้น เลขที่ (คำชี้แจง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. จงเขียนสูตรโมเลกุลตามกฎฏออกเตตและชื่อของสารโคเวเลนต์ที่เกิดระหว่างคู่ชาตุต่อไปนี้ 1) 2) คูธาตุ As CI คูธาตุ Si F จำนวน e ที่ต้องการ จำนวน e ที่ต้องการ เพื่อครบ 8 เพื่อครบ 8 สูตรโมเลกุล สูตรโมเลกุล ชื่ออังกฤษ ชื่ออังกฤษ ชื่อไทย ชื่อไทย 3) 4) คูธาตุ Sb Br คูธาตุ CI 0 จำนวน e ที่ต้องการ จำนวน e ที่ต้องการ เพื่อครบ 8 เพื่อครบ 8 สูตรโมเลกุล ชื่ออังกฤษ สูตรโมเลกุล ชื่ออังกฤษ ชื่อไทย ชื่อไทย 5): คูธาตุ H S คูธาตุ P H จำนวน e ที่ต้องการ จำนวน e ที่ต้องการ เพื่อครบ 8 เพื่อครบ 8 สูตรโมเลกุล ชื่ออังกฤษ สูตรโมเลกุล ชื่ออังกฤษ ชื่อไทย ชื่อไทย 8) คูธาตุ Si O คูธาตุ 0 F จำนวน e ที่ต้องการ จำนวน e ที่ต้องการ เพื่อครบ 8 เพื่อครบ 8 สูตรโมเลกุล สูตรโมเลกุล ชื่ออังกฤษ ชื่ออังกฤษ ชื่อไทย ชื่อไทย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ🙏🙏🙏🥺🥺🙏

หนา 1 ใบงาน เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก วิชาเคมี ชั้น ม.4 บทที่ 3 พันธะเคมี ชื่อ ชั้น า ก เลขที่ (คำชี้แจง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. จงเขียนสมการของพลังงานแลตทิชและพลังงานไฮเดรชันของสารประกอบไอออนิกต่อไปนี้ ข้อที่ สาร พลังงานที่เกี่ยวข้อง สมการแสดงการเปลี่ยนแปลงของสาร 1) KI พลังงานแลตทิช พลังงานไฮเดรชัน 2) MgClว พลังงานแลตทิช พลังงานไฮเดรชัน 3) พลังงานแลตทิช พลังงานไฮเดรชัน 4) AGNO3 พลังงานแลตทิช พลังงานไฮเดรชัน 5) NH,CI พลังงานแลตทิช พลังงานไฮเดรชัน 6) Pb(NO3)2 พลังงานแลตทิช พลังงานไฮเดรชัน 7) Ca(OH)) พลังงานแลตทิช พลังงานไฮเดรชั่น 8) NayPO4 พลังงานแลตทิช พลังงานไฮเดรชัน 9) Na2SO4 พลังงานแลตทิช พลังงานไฮเดรชัน 10) NayCOว พลังงานแลตทิช พลังงานไฮเดรชัน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ สอบถามผู้รู้ค่ะ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

wa3โทส. 10. เป็นน้ำตาลที่ถูกน้าลายและน้าย่อยในกระเพาะอาหารจะได้กลูโคส 2 โมเลกุล ใบงานเรื่อง กรดนิวคลีอิก 1. กรดนิวคลีอิก มีหน้าที่อย่างไร และพบที่ส่วนใดของเซลล์ 2. กรดนิวคลีอิก มีกี่ประเภท อะไรบ้าง 3. หน่วยย่อยของกรดนิวคลีอิก คือ 4. นิวคลีโอไทด์ 1 โมเลกุล ประกอบด้วยโครงสร้างใดบ้าง 5. การเรียงต่อกันของนิวคลีโอไทด์แต่ละโมเลกุลเป็นสายยาว เรียกว่า 6. พันธะเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างนิวคลีโอไทด์แต่ละโมเลกุล คือ 7. จงอธิบายโครงสร้างของ DNA ตามความเข้าใจของนักเรียน 8. DNA และ RNA แตกต่างกันอย่างไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0