ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

🥺ดาราศาสตร์ค่ะ

1. กำหนดให้ 1. การไหลวนของแมนเทิล 2. แผ่นธรณีเกิดความเครียด 3. แผ่นธรณีเกิดความเค้น 4. ภูเขาไฟ หรือ สีนามิ 5. แผ่นดินไหว การเปลี่ยนแปลงทางธรณี จากก่อนไปหาหลังสุด เป็นไปตามข้อใด ก. 1,2,3,4,5 ค. 1,3,2,5,4 ข. 1,3,2,4,5 ง. 1,5,2,3,4 2. การเกิดปรากฏการณ์ทางธรณี บริเวณใดมีความรุนแรงมากที่สุด ก. subduction ค. faulting ข. spreadding ง. translation 3. ภูเขาไฟ คิลาเว เกาะฮาวาย USA เกิดจากกระบวนการใด ก. subduction ค. faulting ข. spreadding ง. translation 4. วงแหวนไฟ (ring of fire) หมายถึงข้อใด ก. บริเวณที่เกิดภูเขาไฟ แผ่นดินไหว และคาบอุบัติซ้ำ ตามแนวรอยแตกรอบโลกเป็นรูปวง แหวนขนาดใหญ่รอบมหาสมุทรแปซิฟิก ข. บริเวณที่เกิดแนวเทือกภูเขาไฟใต้มหาสมุทรและแผ่นดินไหวบ่อยครั้งมากที่สุด อยู่ใน บริเวณกลางมหาสมุทรแปซิฟิก ค. แนวมุดตัวตามรอยแยกของเปลือกโลกตลอดชายฝั่งตะวันตกของสหรัฐอเมริกา เลยไป จนถึงหมู่เกาะในแปซิฟิกใต้ และผ่านไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ง. แนวเขตที่เกิดไฟป่ามากที่สุดในช่วงฤดูร้อนมีลักษณะวงแหวนขนาดใหญ่ ก่อให้เกิดความ เสียหายต่อระบบนิเวศวิทยา ของโลก 5. รูปร่างของภูเขาไฟที่อยู่บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี และอยู่ในแผ่นธรณีแตกต่างกัน อย่างไร ก. รูปร่างของภูเขาไฟที่อยู่บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณีส่วนใหญ่จะมี ลักษณะสูงชันคล้าย รูปกรวย ภูเขาไฟที่อยู่ในแผ่นธรณีมีลักษณะฐานกว้างและมีความสูงไม่มาก ข. รูปร่างของภูเขาไฟที่อยู่บริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณีส่วนใหญ่จะมี ลักษณะเตี้ยคล้าย รูปโล่คว่ำ ภูเขาไฟที่อยู่ในแผ่นธรณีมีลักษณะฐานกว้างและมีความสูงมาก

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

การเปลี่ยนโหมดของคลื่นไหวสะเทือน (Mode conversion) เมื่อคลื่นพี่หรือคลื่นเอส กระทบกับรอยต่อของตัวกลางต่างชนิดกันแบบทำมุม จะเกิด การสะท้อนและหักเหของทั้งคลื่นพีและคลื่นเอสดังแสดงในรูป จากรูปจะพบว่าเมื่อคลื่นพี หรือคลื่นเอสตกกระทบรอยต่อของชั้นต่างๆจะปรากฏคลื่นสะท้อนและหักเหทั้งคลื่นพีและ คลื่นเอส ปรากฏการณ์นี้เราเรียกว่าการเปลี่ยนโหมดของคลื่น (Mode conversion) ซึ่งทำให้ เราสามารถอธิบายได้ว่าทำไมจึงพบคลื่นเอสบริเวณรอยต่อของชั้นแก่นโลกชั้นนอกและแก่น โลกชั้นใน คลื่นเอสดังกล่าวเป็นคลื่นที่แตกตัวออกมาจากคลื่นพีที่ตกกระทบรอยต่อระหว่าง แก่นโลกชั้นนอกและแก่นโลกชั้นในนั่นเอง เมื่อคลื่น P ซึ่งเป็นคลื่นตามยาวตกกระทบที่รอย ต่อของวัสดุ พลังงานบางส่วนทำให้อนุภาคเคลื่อนที่ตามขวางจึงเกิดเป็นคลื่น S การเปลี่ยน โหมดของคลื่นเกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่กระทบกับรอยต่อระหว่างวัสดุต่างชนิดกัน ที่มีความ ต้านทานต่อการสะท้อนต่างกัน) (ข) (ก) คลื่นพี คลื่นเอส B คลื่นสะท้อนพี คลื่นหักเหพี 6ๆ คลื่นหักเหพี คลื่นหักเหเอส B. รูปลักษณะการเกิดคลื่นสะท้อนและคลื่นหักเหแบบทำมุม (ก) เมื่อมีคลื่นพีตกกระทบ (ข) เมื่อมีคลื่นเอสตกกระทบ ความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน ความลึก (กิโลเมตร/วินาที) 0 (กิโลเมตร) ข้อสอบข้อที่ 2 จากภาพ 100 500 660 เป็นกราฟความเร็วของ คลื่นไหวสะเทือนบริเวณ ชั้นต่างๆของโครงสร้าง โลก เพราะเหตุใดเราจึง ไม่พบคลื่น S ตรงชั้น แก่นโลกชั้นนอก และ 1,000 1,500! 2,000 คลื่น 5 คลื่น P 2,500 2,900 3,000 3,500 4,000 4,500 เพราะเหตุใดจึงมีคลื่น S ในชั้นแก่นโลกชั้นใน กำหนดให้ 5 คะแนน 5,000 5,150 คลื่น 5 คลื่น P 5,500 6,000 คลื่นสะท้อนเอส คลื่นสะท้อนพี่ ในหักเหเอส คลื่นสะท้อนเอส 4 -

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
แผนการเรียน มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า

เติมเครื่องหมาย 1ลงในช่อง ๐ ดังตารางที่กำหนด เพื่อระบุสสาร หรือพลังงานที่พบในแต่ละช่วงเวลาของวิวัฒนาการ สิ่งที่พบในช่วงเวลาต่าง ๆ ~1043 - 1032 วินาที -1032 - 106 วินาที -10* วินาที - 3 นาที ~3 นาที - 300,000 ปี ~300,000 ปี - 1,000 ~1,000- 13,800 ล้านปี ล้านปี -10% - 10" เคลวิน ~107- 1013 เคลวิน ~1013 10 เคลวิน ~10- 5,000 เคลวิน ~5000-100 เคลวิน -100 - 2.73 เคลวิน 0 ควาร์ก 0 ควาร์ก 0 ควาร์ก 0 ควาร์ก 0 ควาร์ก 0 ควาร์ก 0 แอนติควาร์ก 0 แอนติควาร์ก 0 แอนติควาร์ก 0 แอนติควาร์ก 0 แอนติควาร์ก 0 แอนติควาร์ก 0 อิเล็กตรอน 0 อิเล็กตรอน 0 อิเล็กตรอน 0 อิเล็กตรอน 0 อิเล็กตรอน 0 อิเล็กตรอน 0 โพซิตรอน 0 โพซิตรอน 0 โพซิตรอน 0 โพซิตรอน 0 โพซิตรอน o โพซิตรอน 0 นิวทริโน 0 นิวทริโน 0 นิวทริโน 0 นิวทริโน 0 นิวทริโน 0 นิ้วทริโน 0 แอนตินิวทริโน 0 แอนตินิวทริโน 0 แอนตินิวทริโน 0 แอนตินิวทริโน 0 แอนตินิวทริโน 0 แอนตินิวทริโน o โฟตอน o โฟตอน o โฟตอน o โฟตอน o โฟตอน o โฟตอน 0 นิวตรอน 0 นิวตรอน 0 นิวตรอน 0 นิวตรอน 0 นิวตรอน 0 นิ้วตรอน 0 โปรตอนหรือนิวเคลียส 0 โปรตอนหรือนิวเคลียส 0 โปรตอนหรือนิวเคลียส 0 โปรตอนหรือนิวเคลียสของ 0 โปรตอนหรือนิวเคลียสของ 0 โปรตอนหรือนิวเคลียสของ ของไฮโดรเจน ของไฮโดรเจน ของไฮโดรเจน ไฮโดรเจน ไฮโดรเจน ไฮโดรเจน 0 นิวเคลียสของฮีเลียม 0 นิวเคลียสของฮีเลียม 0 นิวเคลียสของฮีเลียม 0 นิ้วเคลียสของฮีเลียม 0 นิวเคลียสของฮีเลียม 0 นิ้วเคลียสของฮีเลียม 0 อะตอมของไฮโดรเจน 0 อะตอมของไฮโดรเจน 0 อะตอมของไฮโดรเจน 0 อะตอมของไฮโดรเจน 0 อะตอมของไฮโดรเจน 0 อะตอมของไฮโดรเจน 0 อะตอมของฮีเลียม 0 อะตอมของฮีเลียม 0 อะตอมของฮีเลียม 0 อะตอมของฮีเลียม 0 อะตอมของฮีเลียม 0 อะตอมของฮีเลียม 0 กาแล็กซี 0 กาแล็กซี 0 กาแล็กซี 0 กาแล็กซี 0 กาแล็กซี 0 กาแล็กซี

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0